Page 65 - Lower Songkhram River Basin
P. 65

2-49






                             ประเภทการใชประโยชนที่ดิน (Land utilization type) หมายถึง การใชประโยชน

                  ที่ดินที่มีความแตกตางกันในรายละเอียดที่กำหนด เชน ชนิดพืช พันธุพืช ระดับการจัดการ วิธีการปลูก
                  ระบบและชวงเวลาที่ปลูก ชนิดและอัตราการใชปุย เปนตน
                             ความตองการของการใชประโยชนที่ดิน (Land use requirements) หมายถึง

                  เงื่อนไขที่ประเภทการใชประโยชนที่ดิน "ตองการ" เพื่อใหสามารถใชประโยชนที่ดินดังกลาวได
                        2.8.3 หลักเกณฑในการเลือกคุณภาพที่ดินเพื่อการประเมินความเหมาะสมที่ดิน
                             เนื่องจากสมบัติของที่ดินมีจำนวนมากถาจะนำมาใชในการประเมินทั้งหมดคงจะยุงยาก
                  และเสียเวลามากจึงตองมีการคัดเลือกคุณลักษณะที่ดินที่จำเปนเทานั้นโดยยึดหลักเกณฑดังนี้

                             1) สมบัติของที่ดินนั้นจะตองมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช (Effect upon use)
                                1.1) มีผลมาก (Large)
                                1.2) มีผลปานกลาง (Moderate)
                                1.3) มีผลนอยมาก (Slight)

                             2) คาวิกฤตตองเกิดขึ้นบอยครั้ง (Occurrence of critical values) ในพื้นที่ศึกษา
                                2.1) เกิดบอยครั้ง (Frequent)
                                2.2) เกิดขึ้นบาง (Infrequent)
                                2.3) เกิดยากมาก (Rarely)

                             3) ขอมูล
                                3.1) สามารถเอามาได (Obtainable)
                                3.2) ไมสามารถไดมา (Unobtainable)
                             จากหลักเกณฑทั้ง 3 ขอดังกลาว นำมาประเมินเปนระดับความสำคัญของคุณภาพ ไดดังนี้

                                1) สำคัญมาก คือ จะตองใชในการประเมินทุกครั้งมีลำดับความสำคัญสูงสุด
                                2) สำคัญ คือ ตองใชในการประเมินแตมีความสำคัญรองลงมา
                                3) สำคัญนอย คือ ไมจำเปนตองใชในการประเมิน
                             ชั้นความเหมาะสม (Suitability class) การจำแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินได

                  จำแนกชั้นความเหมาะสมออกเปน 4 ชั้น (Class) และกำหนดชั้นความเหมาะสมในแตละชั้นความเหมาะสม
                  ออกเปนชั้นยอย (Subclass) ตามขอจำกัดของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลของพืชหลักตามประเภทการใชที่ดิน
                  ทั้งนี้ ใชวิธีการประเมินจากกลุมของคุณลักษณะที่ดินที่มีขอจำกัดรุนแรงที่สุด ทั้งนี้ สามารถจัดชั้น

                  ความเหมาะสมของที่ดินได 4 ชั้น คือ
                               S1       : ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง
                               S2       : ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง
                               S3       : ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย
                               N        : ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70