Page 60 - Lower Songkhram River Basin
P. 60

2-44





                        2.7.4  การเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินระหวาง ป พ.ศ. 2553 ป พ.ศ. 2558 และป พ.ศ. 2562

                            จากการศึกษารายละเอียดของสภาพการใชที่ดิน 3 ชวงป ไดแก ป พ.ศ. 2553 ป พ.ศ. 2558
                  และป พ.ศ. 2562 ในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง นำมาวิเคราะหการเปลี่ยนแปลง
                  สภาพการใชที่ดิน พบวาพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสรางมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการขยายของ

                  เมืองมากขึ้น นอกจากนี้พื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่ศึกษาฯ ก็มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเชนกัน พื้นที่เกษตรกรรม
                  สวนใหญจะเปนพื้นที่นาขาว ยางพารา ยูคาลิปตัส มันสำปะหลัง และปาลมน้ำมัน จากสภาพการใชที่ดิน
                  ป 2553-2562 เกษตรกรบางรายหันมาปลูกไมยืนตน มีการทำโรงเรือนเลี้ยงสัตว และทำสถานที่
                  เพาะเลี้ยงสัตวน้ำเพิ่มมากขึ้น สงผลใหพื้นที่ปาไม มีการเปลี่ยนแปลงลดลง รายละเอียดดังตารางที่ 2-16

                  และรูปที่ 2-15
                            จากตารางที่ 2-17 การเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินระหวางป พ.ศ. 2553 และป พ.ศ. 2558
                  พบวามีพื้นที่ปาไมถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เกษตรกรรมมากถึง 10,757 ไร คิดเปนรอยละ 1.90 ของพื้นที่ศึกษาฯ
                  โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ปาไมเปนพื้นที่ปลูกไมยืนตน เชน ยางพารา ปาลมน้ำมัน

                  เปนตน รองลงมาคือ พื้นที่เกษตรกรรมถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เบ็ดเตล็ด โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลง
                  จากพื้นที่นาขาวเปนพื้นที่ลุมสลับกับการทำนาในชวงฤดูแลง มีเนื้อที่ 8,425 ไร คิดเปนรอยละ 1.49
                  ของพื้นที่ศึกษาฯ และพื้นที่เบ็ดเตล็ดถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เกษตรกรรม โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลง
                  จากพื้นที่ลุมเปนพื้นที่นาขาว มีเนื้อที่ 6,937 ไร คิดเปนรอยละ รอยละ 1.22 ของพื้นที่ศึกษาฯ

                            การเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินระหวางป พ.ศ. 2558 และป พ.ศ. 2562 ในตารางที่ 2-18
                  จะเห็นวา พื้นที่เบ็ดเตล็ดถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เกษตรกรรมมากถึง 24,113 ไร คิดเปนรอยละ 4.26 ของพื้นที่
                  ศึกษาฯ โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ลุมเปนพื้นที่นาขาว นอกจากนี้พื้นที่ปาไมถูกเปลี่ยนเปน
                  พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 18,024 ไร คิดเปนรอยละ 3.18 ของพื้นที่ศึกษาฯ โดยสวนใหญเปน

                  การเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ปาไมเปนพื้นที่ปลูกไมยืนตน เชน ยางพารา ปาลมน้ำมัน เปนตน อยางไรก็ตาม
                  มีพื้นที่เกษตรกรรมถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 9,682 ไร คิดเปนรอยละ 1.71 ของพื้นที่ศึกษาฯ
                  พื้นที่เกษตรกรรมถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่แหลงน้ำ มีเนื้อที่ 5,680 ไร คิดเปนรอยละ 1.00 ของพื้นที่ศึกษาฯ
                  และพื้นที่เกษตรกรรมถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่ปาไม  มีเนื้อที่ 4,280 ไร คิดเปนรอยละ 0.76 ของพื้นที่ศึกษาฯ
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65