Page 164 - กำหนดเขตที่ดินทำกิน โครงการพัฒนาที่ดินบนพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
P. 164

ผ-4





                      1. การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา
                        การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา นอกจากจะกําหนดขอบเขตความเหมาะสมของพื้นที่เปนหลักและใช
                      ลักษณะทางกายภาพเปนพื้นฐานแลว ยังมีการศึกษาขอมูลดานอื่นๆ เพิ่มเติมจากขอมูลเบื้องตนที่
                      เกี่ยวของกับสภาพแวดลอม ซึ่งไดแก ปริมาณน้ํา  ปาไม  ดิน ตะกอน  ขอมูลเศรษฐกิจและสังคม มาใช
                      พิจารณารวมเพื่อชวยใหการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําสมบูรณยิ่งขึ้น    จากหลักเกณฑทั้ง 6 ประการ
                      เมื่อนํามาพิจารณากับสภาพพื้นที่แตละแหงของประเทศไทย สามารถจําแนกได 5 ระดับชั้นคุณภาพ โดย
                      ใหความสําคัญเรียงลําดับกันไป เพื่อเปนเครื่องมือชวยควบคุมระบบนิเวศและการใชประโยชนที่ดินในแตละ

                      ชั้นคุณภาพลุมน้ํา ซึ่งแตละชั้นคุณภาพมีลักษณะพื้นฐานดังนี้
                        1.1    พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 หมายถึง พื้นที่มีสภาพเปนตนน้ําลําธารเปนแหลงน้ําฝนและใหน้ํากับพื้นที่

                      ตอนลาง พื้นที่ตอนบนมักมีความชันมาก ลักษณะดินที่งายตอการพังทลายเปนพื้นที่ซึ่งควรรักษาไวเพื่อ
                      เปนตนน้ําลําธารโดยเฉพาะ อาจจะรักษาในรูปของเขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ ซึ่งในสวนของ
                      พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 ยังแยกเปนชั้นยอยไดอีก 2 ระดับ โดยใช “สภาพปา” เปนตัวกําหนดคือ “พื้นที่ลุมน้ํา
                      ชั้น 1 เอ” จะมีสภาพปาที่ยังอุดมสมบูรณตามที่ปรากฏอยูในป พ.ศ. 2525 และเปนพื้นที่ที่จะตองสงวน
                      รักษาไวเปนพื้นที่ตนน้ําลําธาร และเปนทรัพยากรปาไมของประเทศ ในขณะที่“พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 บี”
                      จะมีสภาพปาสวนใหญถูกทําลาย ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใชที่ดินรูปแบบอื่นกอนหนา
                      ป พ.ศ. 2525 และการใชที่ดินรูปแบบตางๆ ที่ดําเนินการไปแลวจะตองมีมาตรการควบคุมเปนพิเศษ
                        1.2    พื้นที่ลุมน้ําชั้น 2 หมายถึง พื้นที่ลุมน้ําที่มีสภาพเปนพื้นที่ปาปองกัน ปาเพื่อการคาหรือ
                      ปาเศรษฐกิจ ปกติเปนพื้นที่บนที่สูง มีความลาดชันสูงมาก ดินมีประสิทธิภาพในการยึดเกาะกันสูงกวา

                      พื้นที่ลุมน้ําชั้นคุณภาพที่ 1 ลักษณะทั่วไปเหมาะสมตอการเปนตนน้ําลําธารในระดับรองลงมา ควรสงวนเก็บ
                      ไวเปนพื้นที่แหลงตนน้ําลําธาร รักษาไวในรูปแบบของเขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ
                      และอาจสามารถอนุญาตใหใชประโยชนเพื่อทํากิจการสําคัญบางอยางได เชน การทําเหมืองแร

                        1.3    พื้นที่ลุมน้ําชั้น 3 หมายถึง สภาพลุมน้ําที่มีสภาพเปนเชิงเขา ความลาดชันสูง ดินมีลักษณะ
                      การพังทลายปานกลาง พื้นที่เหมาะสมเปนปาเศรษฐกิจ ทุงหญาเลี้ยงสัตว ปลูกไมผลยืนตน พืชเกษตร
                      ยืนตนหรือการทําเหมืองแร แตตองมีมาตรการดานการอนุรักษดินและน้ําควบคูกันไปอยางเขมงวด

                        1.4    พื้นที่ลุมน้ําชั้น 4 หมายถึง พื้นที่ลุมน้ําที่มีสภาพพื้นที่เนินราบ มีความลาดชันปานกลาง
                      สภาพปาสวนใหญถูกแผวถางเพื่อใชเปนพื้นที่ปลูกพืชไร กําหนดใหมีการปลูกพืชไร ไมผลและทําทุง
                      หญาเลี้ยงสัตวได สภาพพื้นที่คอนขางราบบางแหงอาจจะมีความลาดชันแตคอนขางนอย การพังทลายของ
                      หนาดินคอนขางควบคุมไดงายโดยมีพืชคลุมดิน
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168