Page 163 - กำหนดเขตที่ดินทำกิน โครงการพัฒนาที่ดินบนพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
P. 163

ผ-3





                                                                                     ภาคผนวกที่ 2


                                                                         การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา



                           ประเทศไทยมีการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําหรือการแบงเขตพื้นที่ลุมน้ําตามลักษณะศักยภาพทาง
                      อุทกวิทยา และทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู เพื่อประโยชนหลักในดานการจัดการทรัพยากร และ
                      สภาพแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักเกณฑประกอบการพิจารณา 7 ขอดังนี้
                           - สภาพภูมิประเทศ ใชลักษณะของแผนดิน เชน แนวบริเวณสันเขา ยอดเขาแหลม ยอดเขามน
                      หุบเขา หนาผา เชิงเขา บริเวณกัดลึก รองเขา ที่ราบขั้นบันได ที่ราบหรือที่ลุม ซึ่งเปนผลสืบเนื่องจาก
                      กระบวนการชะลางพังทลายในอดีตและมีผลตอการกําหนดการใชประโยชนที่ดิน
                           - ความลาดชัน เปนศักยภาพที่เกี่ยวของกับกระบวนการชะลางและการสูญเสียหนาดิน เชน

                      ถาความลาดชันสูง โอกาสที่มีการพังทลายจะมาก ปริมาณการเคลื่อนยายของตะกอนดินก็มีมากตาม
                           - ความสูงจากระดับน้ําทะเล โดยทั่วไปเมื่อความสูงจากระดับน้ําทะเลมีมาก ความลาดชันของ
                      พื้นที่จะเพิ่มขึ้นดวยและมีปริมาณฝนตกมากและนานขึ้น ความสูงจากระดับน้ําทะเลจึงมีอิทธิพลตอการ
                      พังทลายของหนาดิน มีหนวยที่ยอมรับกันเปนสากลวาใหวัดจากระดับน้ําทะเลปกติแลวใชชื่อเรียกวา
                      ความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางมีหนวยเปนเมตร
                           - ลักษณะหิน โดยทั่วไปลักษณะของหินจะเกี่ยวโยงถึงการกําเนิดดินและคุณภาพของน้ําทา จึงใช
                      ชนิดของหิน อายุทางธรณีรวมทั้งคุณสมบัติที่จะแปรสภาพเปนดินที่มีความยากงายตอการถูกชะลาง
                      พังทลาย
                           - ลักษณะดิน โดยทั่วไปดินมีความแตกตางกันไปทั้งดานเคมี ฟสิกส และชีววิทยาสัมพันธตอการ

                      กําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา ใชคุณสมบัติทางดินที่เกี่ยวกับความลึก ความอุดมสมบูรณ และความยากงายตอ
                      การชะลางพังทลายของชนิดดินที่ปรากฏเปนสวนใหญในพื้นที่นั้นๆ
                           - สภาพของพืชพรรณและปาไม ซึ่งหมายถึงพืชคลุมดินไมวาจะเปนวัชพืช พืชเกษตร พืชปา
                      หญา ตนไมที่เหลืออยูในปจจุบันอาจจะพิจารณาจากรายงานของแผนที่ภาพถายทางอากาศจาก
                      ดาวเทียมที่สํารวจประจําป ซึ่งใหสภาพที่เปนจริงในปจจุบันมากที่สุด พืชคลุมดินดังกลาวจะเกี่ยวพันกับ
                      การชะลางผิวหนาดิน
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168