Page 161 - กำหนดเขตที่ดินทำกิน โครงการพัฒนาที่ดินบนพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
P. 161

ผ-1





                                                                                     ภาคผนวกที่ 1


                              การจําแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติ


                           ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 ไดใหความเห็นชอบตามมติของ
                      คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ เรื่องการจําแนกเขตการใช
                      ประโยชนทรัพยากรและดินปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติ ซึ่งไดจําแนกเขตปาสงวนแหงชาติ ออกเปน

                      3 เขต ดังนี้
                           1. เขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ (โซน C) หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่มีสภาพปาสมบูรณ

                      หรือศักยภาพเหมาะสมกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อรักษาไวซึ่งความสมดุลของธรรมชาติและ
                      สิ่งแวดลอม พื้นที่ลักษณะนี้ไดแก พื้นที่ปาที่มีสภาพสมบูรณตลอดจนพื้นที่ปาที่ควรสงวนไว เพื่อรักษา
                      สภาพแวดลอม และระบบนิเวศ สถานที่ศึกษาวิจัย พื้นที่ปาเอกลักษณเฉพาะทองถิ่น พื้นที่
                      ที่กําหนดเปนโบราณสถาน โบราณวัตถุ ตามพระราชบัญญัติฯ และพื้นที่ปาหามมิใหบุคคลเขาไปหรืออยู
                      อาศัยตามแนวเขตชายแดน

                           2. เขตพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E) หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่กําหนดไว เพื่อผลิตไม
                      และของปารวมถึงพื้นที่เศรษฐกิจตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา และการจําแนก
                      เขตการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาชายเลน พื้นที่เพื่อการพัฒนาทรัพยากรปาไม และพื้นที่ประสานการใช
                      ประโยชนรวมกันระหวางทรัพยากรปาไมกับทรัพยากรอื่น เชน ทรัพยากรมนุษย ทรัพยากรแร และ
                      ทรัพยากรพลังงาน เพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติตลอดทั้งตองไมอยูในหลักเกณฑที่
                      จําแนกใหเปนเขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษตอไป พื้นที่ลักษณะนี้ไดแก
                             1) พื้นที่พัฒนาปาธรรมชาติ หมายถึง พื้นที่ปาที่มีสภาพปาไมสมบูรณ มีศักยภาพเหมาะสมใน
                      การจัดการปาไมตามหลักวิชาการ เพื่อยังผลใหทรัพยากรปาไมมีผลิตผลสม่ําเสมอตลอดไป ใหราษฎรไดใช
                      ประโยชนจากไมและของปารวมกัน ไมบุกรุกเขาไปใชประโยชนในเขตพื้นที่ปา เพื่อการอนุรักษตอไป พื้นที่
                      ลักษณะนี้ไดแก พื้นที่ปาชุมชน เปนตน
                             2) พื้นที่พัฒนาทรัพยากรปาไม หมายถึง พื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่มีศักยภาพสูงในการฟนฟูสภาพ

                      ปา สามารถสงเสริมบทบาทและหนาที่ของสวนราชการและเอกชนใหมีสวนรับผิดชอบในการจัดการ และการ
                      พัฒนาทรัพยากรปาไมรวมกัน เพื่ออํานวยความสะดวกทั้งทางตรงและทางออมใหมีไมใช
                      ในประเทศ และเพื่อประโยชนทางดานอุตสาหกรรมแบบตอเนื่อง โดยเอาทุกสวนของไมมาใชประโยชน ให
                      บรรลุผลตอการพัฒนาดานอุสาหกรรมตลอดจนเศรษฐกิจและสังคมของชาติ พื้นที่ลักษณะนี้ไดแก พื้นที่
                      ปลูกปาภาครัฐบาล พื้นที่ปลูกปาเอกชน และพื้นที่ปลูกปา เพื่อใชสอยในครัวเรือน เปนตน
                             3) พื้นที่พัฒนาตามหลักวนศาสตรชุมชน หมายถึง พื้นที่ที่กําหนดไวเพื่อแกไขปญหาการบุกรุก
                      ทําลายปาในรูปแบบตางๆ โดยการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการตั้งถิ่นฐาน ใหสอดคลองกับ
                      การใชประโยชนและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ การใชประโยชนพื้นที่กระทํา
                      ในลักษณะของวนเกษตรพื้นที่ลักษณะนี้ไดแก พื้นที่โครงการหมูบานปาไม พื้นที่สิทธิทํากิน (สทก.) พื้นที่
                      โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง และโครงการตามพระราชดําริ
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166