Page 37 - กำหนดเขตที่ดินทำกิน โครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน
P. 37

ผ-5






                            (3)  การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินใดๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ภายหลังปี พ.ศ.2526

                  ก าหนดให้ใช้มาตรการดังนี้ หากก าหนดเป็นลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ไปแล้วภายหลังส ารวจพบว่าเป็นที่รกร้าง
                  ว่างเปล่าหรือป่าเสื่อมโทรม ให้กรมป่าไม้ด าเนินการปลูกสร้างป่าทดแทนต่อไป
                            (4)  การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินใดๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ภายหลังปี พ.ศ.2526

                  ก าหนดให้ใช้มาตรการดังนี้ หากพื้นที่ก าหนดเป็นลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ไปแล้วเป็นบริเวณที่มีประชาชนอาศัยอยู่
                  ดั้งเดิมอย่างถาวร ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการจัดที่ท ากินให้เป็นการถาวรเพื่อป้องกันการโยกย้ายและ
                  ท าให้การท าลายป่าขยายแนวออกไป

                        2) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 บี ซึ่งเป็นพื้นที่ปราศจากป่าปกคลุม มีข้อก าหนดในการใช้ประโยชน์ ดังนี้
                            (1)  พื้นที่ใดมีการเปลี่ยนสภาพเพื่อประกอบการเกษตรรูปแบบต่างๆ ไปแล้วให้หน่วยงาน

                  ที่เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณาก าหนดการใช้ที่ดินให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลด้านเศรษฐกิจ สังคม
                  และสภาพแวดล้อม
                            (2)  พื้นที่ใดที่มีการพัฒนาเพื่อท าเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจรูปแบบต่างๆ ไปแล้ว หากมี
                  การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงใดๆ จะต้องด าเนินการวางแผนการใช้ที่ดินให้สอดคล้องกับสภาพธรรมชาติ

                  ในลักษณะเอื้ออ านวยต่อการรักษาดุลยภาพของลักษณะนิเวศวิทยาและการอนุรักษ์ธรรมชาติ
                            (3)  พื้นที่ใดไม่เหมาะสมต่อการเกษตรหรือการพัฒนาในรูปแบบอื่นๆ ให้กรมป่าไม้
                  ด าเนินการปลูกป่าเพื่อฟื้นฟูสภาพต้นน้ าล าธาร
                            (4)  ในกรณีที่ต้องมีการก่อสร้างถนนผ่านเข้าไปในพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นนี้หรือการท าเหมืองแร่

                  หน่วยงานที่รับผิดชอบในโครงการจะต้องด าเนินการควบคุมการชะล้างพังทลายของดินที่เกิดขึ้น
                  ในบริเวณโครงการ เนื่องจากการปฏิบัติในระหว่างการด าเนินการและภายหลังเสร็จสิ้นโครงการไม่ให้มี
                  ตะกอนไหลลงสู่แม่น้ าจนท าให้เกิดอันตรายแก่สัตว์น้ าและไม่สามารถน ามาอุปโภคบริโภคได้
                            (5)  ในกรณีที่หน่วยงานราชการใดจ าเป็นต้องใช้ที่ดินในชั้นคุณภาพลุ่มน้ านี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

                  ซึ่งโครงการนั้นส าคัญต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติแล้ว ในส่วนราชการเจ้าของโครงการฯ
                  จะต้องน าโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดท า “รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
                  สิ่งแวดล้อม” ของโครงการเพื่อเสนอต่อส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                    2.2  ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2
                        มาตรการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ านี้เข้มงวดน้อยกว่าพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 ซึ่งมี

                  ข้อก าหนดดังนี้
                        1) การใช้พื้นที่ท าเหมืองแร่ สามารถอนุญาตได้แต่ต้องมีการควบคุมวิธีการปฏิบัติในการใช้ที่ดิน
                  เพื่อการนั้นๆ อย่างเข้มงวด และเป็นไปตามระเบียบทางราชการ เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่พื้นที่ต้นน้ า

                  ล าธารและพื้นที่ตอนล่าง
                        2) การใช้ที่ดินเพื่อท ากิจกรรมทางเกษตรกรรมควรหลีกเลี่ยงให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการ
                  ปลูกป่าในบริเวณที่ถูกท าลายโดยเร่งด่วน

                    2.3  ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3
                        มาตรการในการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ านี้เข้มงวดน้อยกว่าพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2

                  ซึ่งมีข้อก าหนดไว้ดังนี้
   32   33   34   35   36   37   38   39   40