Page 35 - กำหนดเขตที่ดินทำกิน โครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน
P. 35

ผ-3







                                                                                     ภาคผนวกที่ 2


                                                                        การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า



                        ประเทศไทยมีการก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ าหรือการแบ่งเขตพื้นที่ลุ่มน้ าตามลักษณะศักยภาพทาง
                  อุทกวิทยา และทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ เพื่อประโยชน์หลักในด้านการจัดการทรัพยากร และ
                  สภาพแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักเกณฑ์ประกอบการพิจารณา 7 ข้อดังนี้

                        - สภาพภูมิประเทศ ใช้ลักษณะของแผ่นดิน เช่น แนวบริเวณสันเขา ยอดเขาแหลม ยอดเขามน
                  หุบเขา หน้าผา เชิงเขา บริเวณกัดลึก ร่องเขา ที่ราบขั้นบันได ที่ราบหรือที่ลุ่ม ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจาก
                  กระบวนการชะล้างพังทลายในอดีตและมีผลต่อการก าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                        - ความลาดชัน เป็นศักยภาพที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการชะล้างและการสูญเสียหน้าดิน เช่น
                  ถ้าความลาดชันสูง โอกาสที่มีการพังทลายจะมาก ปริมาณการเคลื่อนย้ายของตะกอนดินก็มีมากตาม
                        - ความสูงจากระดับน้ าทะเล โดยทั่วไปเมื่อความสูงจากระดับน้ าทะเลมีมาก ความลาดชันของ
                  พื้นที่จะเพิ่มขึ้นด้วยและมีปริมาณฝนตกมากและนานขึ้น ความสูงจากระดับน้ าทะเลจึงมีอิทธิพลต่อการ

                  พังทลายของหน้าดิน มีหน่วยที่ยอมรับกันเป็นสากลว่าให้วัดจากระดับน้ าทะเลปกติแล้วใช้ชื่อเรียกว่า
                  ความสูงจากระดับน้ าทะเลปานกลางมีหน่วยเป็นเมตร
                        - ลักษณะหิน โดยทั่วไปลักษณะของหินจะเกี่ยวโยงถึงการก าเนิดดินและคุณภาพของน้ าท่า จึงใช้
                  ชนิดของหิน อายุทางธรณีรวมทั้งคุณสมบัติที่จะแปรสภาพเป็นดินที่มีความยากง่ายต่อการถูกชะล้าง

                  พังทลาย
                        - ลักษณะดิน โดยทั่วไปดินมีความแตกต่างกันไปทั้งด้านเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยาสัมพันธ์ต่อการ
                  ก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า ใช้คุณสมบัติทางดินที่เกี่ยวกับความลึก ความอุดมสมบูรณ์ และความยากง่ายต่อ
                  การชะล้างพังทลายของชนิดดินที่ปรากฏเป็นส่วนใหญ่ในพื้นที่นั้นๆ

                        - สภาพของพืชพรรณและป่าไม้ ซึ่งหมายถึงพืชคลุมดินไม่ว่าจะเป็นวัชพืช พืชเกษตร พืชป่า
                  หญ้า ต้นไม้ที่เหลืออยู่ในปัจจุบันอาจจะพิจารณาจากรายงานของแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศจาก
                  ดาวเทียมที่ส ารวจประจ าปี ซึ่งให้สภาพที่เป็นจริงในปัจจุบันมากที่สุด พืชคลุมดินดังกล่าวจะเกี่ยวพันกับ

                  การชะล้างผิวหน้าดิน
                  1. การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า

                    การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า นอกจากจะก าหนดขอบเขตความเหมาะสมของพื้นที่เป็นหลักและใช้
                  ลักษณะทางกายภาพเป็นพื้นฐานแล้ว ยังมีการศึกษาข้อมูลด้านอื่นๆ เพิ่มเติมจากข้อมูลเบื้องต้นที่
                  เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม ซึ่งได้แก่ ปริมาณน้ า  ป่าไม้  ดิน ตะกอน  ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม มาใช้

                  พิจารณาร่วมเพื่อช่วยให้การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ าสมบูรณ์ยิ่งขึ้น  จากหลักเกณฑ์ทั้ง 6 ประการ
                  เมื่อน ามาพิจารณากับสภาพพื้นที่แต่ละแห่งของประเทศไทย สามารถจ าแนกได้ 5 ระดับชั้นคุณภาพ โดย
                  ให้ความส าคัญเรียงล าดับกันไป เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยควบคุมระบบนิเวศและการใช้ประโยชน์ที่ดินในแต่ละ

                  ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า ซึ่งแต่ละชั้นคุณภาพมีลักษณะพื้นฐานดังนี้
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40