Page 49 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 49

3-15





                          4) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ำ

                            จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวามีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 76.6 เปอรเซ็นต ปริมาณการคาย
                  ระเหยน้ำเฉลี่ยตลอดป 62.1 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 71.3 มิลลิเมตร ในเดือนพฤษภาคม
                  ปริมาณการคายระเหยต่ำสุด 52.4 มิลลิเมตร ในเดือนกุมภาพันธ

                          5) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืช
                            การวิเคราะหชวงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาชวงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชโดยใชขอมูล
                  ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย และคาศักยภาพการคายระเหยน้ำของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo)
                  ซึ่งคำนวณและพิจารณาจากระยะเวลาชวงที่เสนน้ำฝนอยูเหนือเสน 0.5 ETo ถือเปนชวงระยะเวลาที่

                  เหมาะสมในการปลูกพืช จากการวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมจากการปลูกพืชเศรษฐกิจจังหวัดเพชรบุรี
                  สามารถสรุปไดดังนี้
                            (1) ชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกพืช เปนชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะตอการปลูกพืช
                  ซึ่งเปนชวงฤดูฝนปกติอยูในชวงระหวางปลายเดือนกุมภาพันธถึงกลางเดือนธันวาคม ซึ่งในชวงปลาย

                  เดือนธันวาคมนั้น เปนชวงที่มีปริมาณน้ำฝนเพียงเล็กนอยแตเนื่องจากมีปริมาณน้ำที่สะสมไวในดิน
                  จึงมีความชื้นในดินเพียงพอสำหรับปลูกพืชอายุสั้นได แตควรมีการวางแผนจัดการระบบการเพาะปลูก
                  ใหเหมาะสมสำหรับพื้นที่เพาะปลูกแตละแหง เนื่องจากอาจตองอาศัยน้ำจากแหลงน้ำในไรนาหรือ
                  น้ำชลประทานชวยในการเพาะปลูกบาง

                            (2) ชวงระยะเวลาที่มีน้ำมากเกินพอ เปนชวงที่ดินมีความชื้นสูงและมีฝนตกชุก
                  อยูในชวงระหวางปลายเดือนเมษายนถึงตนเดือนธันวาคม
                            (3) ชวงระยะเวลาที่ไมเหมาะสมตอการปลูกพืชโดยอาศัยน้ำฝน เนื่องจากมีปริมาณฝน
                  และการกระจายของฝนนอย ทำใหดินมีความชื้นไมเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืชอยูในชวงระหวาง

                  กลางเดือนธันวาคมถึงปลายเดือนกุมภาพันธซึ่งในชวงเวลาดังกลาวถาพื้นที่เพาะปลูกแหงใด
                  มีการจัดการระบบชลประทานที่ดีก็สามารถปลูกพืชฤดูแลงได




































                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54