Page 103 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่สรวย
P. 103

3-60







                  3.3  นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในพื้นที่ลุ่มน ้า

                        การจัดการทรัพยากรในลุ่มน ้ าสาขาน ้ าแม่สรวย เพื่อให้เกิดความสมดุลกันของ
                  ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ทรัพยากรที่ดิน ทรัพยากรน ้า ทรัพยากรป่าไม้ สภาพเศรษฐกิจ สังคม และ

                  ระบบนิเวศนั้น จ าเป็นต้องพิจารณาถึงศักยภาพของทรัพยากรแต่ละด้านเป็นหลัก ร่วมกับการพิจารณา

                  วิเคราะห์นโยบายและกฎหมาย รวมทั้งมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องต่อการก าหนดมาตรการการใช้
                  ประโยชน์ที่ดิน การคุ้มครอง ป้องกัน รักษาและอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากร เพื่อใช้เป็นกรอบหรือแนวทางใน

                  การบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่สรวย อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถใช้

                  ทรัพยากรได้ยั่งยืนต่อไป ซึ่งมีนโยบายและกฎหมายรวมทั้งมติคณะรัฐมนตรีต่างๆที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

                        3.3.1  การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน ้า
                            ชั้นคุณภาพลุ่มน ้า หมายถึง การแบ่งเขตพื้นที่ลุ่มน ้าตามลักษณะกายภาพและศักยภาพทาง

                  อุทกวิทยาและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประโยชน์การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างมี

                  ประสิทธิภาพในลุ่มน ้านั้นๆ
                              พื้นที่ทั้งหมดของลุ่มน ้าจะถูกจ าแนกออกเป็น 5 ระดับ มีลักษณะดังนี้

                            1)  พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่ที่ต้องสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นน ้าล าธารโดยเฉพาะ

                  เนื่องจาก มีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่าย

                  และรุนแรง โดยมีการแบ่งออกเป็น 2 ระดับชั้นย่อย คือ พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 1 เอ ได้แก่ พื้นที่ต้นน ้าล าธาร
                  ที่ยังมีสภาพป่าสมบูรณ์ พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 1 บี เป็นพื้นที่ที่สภาพป่าส่วนใหญ่ได้ถูกท าลาย ดัดแปลงหรือ

                  เปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาหรือการใช้ที่ดินรูปแบบอื่นก่อน พ.ศ. 2525

                            2)  พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 2 เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะเหมาะสมต่อการเป็นต้นน ้าล าธารในระดับที่
                  รองมาจากพื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 1 สามารถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อกิจกรรมที่ส าคัญได้ เช่น การท าเหมืองแร่

                            3)  พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 3 เป็นพื้นที่ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งกิจการการท าไม้ เหมืองแร่

                  และปลูกไม้ยืนต้น

                            4)  พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 4 เป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์ได้ทั้งกิจการท าไม้ เหมืองแร่ โดยการปลูกไม้ผล
                  พืชไร่ นาข้าว ต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน ้า

                            5)  พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 5 เป็นพื้นที่ราบลุ่ม หรือเนินเอียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้ในการปลูกข้าว

                            จากข้อก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นต่างๆ สรุปสาระส าคัญได้คือ การใช้ประโยชน์

                  พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 1 และ 2 ซึ่งเป็นพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญที่ต้องสงวนรักษาไว้เป็นพิเศษ เนื่องจาก
                  เป็นแหล่งต้นน ้าล าธารและเป็นพื้นที่ป่าไม้ของประเทศ ไม่ควรจะเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อใช้ท าการเกษตร

                  ส าหรับการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน ้าชั้นที่ 3, 4 และ 5 นั้น ให้ใช้ท าการเกษตรได้แต่ต้องมีมาตรการตาม

                  ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน ้า ได้แก่ มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน ้า และการป้องกัน
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108