Page 133 - รายงานแผนการใช้ที่ดินแม่กกตอนล่าง
P. 133

3-85





                  3,539.03 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 3,283.59 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 255.44 บาทต่อไร่ และ

                  อัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.08

                               ข้าวเหนียวนาปี (กข6) – ข้าวเจ้านาปรัง (พิษณุโลก 2) ส ารวจจ านวน 2 หน่วยที่ดิน คือ

                  หน่วยที่ดินที่ 5I และ 21I พบว่า ทั้ง 2 หน่วยที่ดินมีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช้
                  ประโยชน์ที่ดินอยู่ในระดับปานกลาง (S2) ผลผลิตข้าวเหนียวนาปี (กข6) 562.00-567.00 กิโลกรัมต่อไร่ มี

                  รายได้ 4,501.60-4,541.65 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 3,861.28-4,221.52 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร

                  320.13-640.32 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.08-1.17 ผลผลิต
                  ข้าวเจ้านาปรัง (พิษณุโลก 2) 427.27-435.00 กิโลกรัมต่อไร่ มีรายได้ 3,201.96-3,259.89 บาทต่อไร่

                  ต้นทุนผันแปร 3,091.66-3,191.66 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 68.23-110.30 บาทต่อไร่ และ

                  อัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.02-1.04

                               ข้าวเหนียวนาปี (กข6) – ข้าวเหนียวนาปรัง (สันป่ าตอง) ในหน่วยที่ดินที่ 21I ปลูก
                  ข้าวเหนียวนาปี (กข6) ตามด้วยข้าวเหนียวนาปรัง (สันป่าตอง) มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ

                  ของการใช้ประโยชน์ที่ดินอยู่ในระดับปานกลาง (S2) ผลผลิตข้าวเหนียวนาปี (กข6) 550.00 กิโลกรัมต่อไร่

                  มีรายได้ 4,405.50 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 4,221.52 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 183.98 บาทต่อ
                  ไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.04 ผลผลิตข้าวเหนียวนาปรัง (สันป่าตอง)

                  575.00 กิโลกรัมต่อไร่ มีรายได้ 4,416.00 บาทต่อไร่ ต้นทุนผันแปร 3,391.66 บาทต่อไร่ รายได้เหนือต้นทุน

                  ผันแปร 1,024.34 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ 1.30

                            2)  การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ ในหน่วยที่ดินเดียวกัน (ตารางที่ 3-16)

                               ส าหรับทางเลือกการใช้ประโยชน์ที่ดินจากวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจบริเวณลุ่มน ้าสาขา

                  น ้าแม่กกตอนล่าง เนื่องจากบางหน่วยที่ดินเกษตรกรสามารถเลือกใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อผลิตพืชได้หลาย
                  ชนิด ดังนั้น เมื่อวิเคราะห์ตัวชี้วัด 4 ตัวแปร ได้แก่ รายได้ ต้นทุนผันแปร รายได้เหนือต้นทุนผันแปร

                  และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปร จากนั้นน าผลวิเคราะห์ตัวแปรดังกล่าวไปจัดระดับความเหมาะสม

                  ทางเศรษฐกิจของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน สรุปดังนี้

                               เขตพื้นที่เกษตรน ้ำฝน ส ารวจจ านวน 1 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 28E ดังนี้

                               หน่วยที่ดินที่ 28E มีประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2 ประเภท ได้แก่ ยางพาราและ

                  ล าไย พบว่า ทั้ง 2 ประเภทมีชั้นความเหมาะสมทางเศรษฐกิจในระดับเล็กน้อย (S3) เกษตรกรควรปลูก
                  ล าไย เนื่องจากให้รายได้เหนือต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูกยางพารา
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138