Page 131 - รายงานแผนการใช้ที่ดินแม่กกตอนล่าง
P. 131

3-83







                        3.2  การประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจ

                            การประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจเป็นการวิเคราะห์สภาพการผลิตพืชแต่ละหน่วยที่ดิน โดย

                  พิจารณาจากการจัดการที่ดิน ปริมาณการลงทุนของเกษตรกรและรายได้เหนือต้นทุนผันแปรในการ
                  ใช้ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์เป็นข้อมูลดิบที่ได้จากการส ารวจสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของ

                  เกษตรกรบริเวณพื้นที่ด าเนินการ ปีการเพาะปลูก 2560/2561 โดยกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร

                  กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ราคาผลผลิตที่น ามาค านวณมูลค่าผลผลิตใช้ราคา
                  เฉลี่ยราคาเดียวกันส าหรับผลผลิตชนิดเดียวกัน เช่นเดียวกับราคาปัจจัยการผลิต ทั้งนี้เพื่อก าจัดปัญหา

                  ตัวแปรด้านราคาที่แตกต่างกันตามสถานที่และระยะเวลาการผลิต ส าหรับไม้ยืนต้นที่มีอายุการผลิต

                  มากกว่า 1 ปี ได้น าต้นทุนและมูลค่าผลผลิตมาวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์การประเมินโครงการ โดยใช้

                  หลักมูลค่าปัจจุบันของรายได้สุทธิจากโครงการ (Net Present Value : NPV) และปรับค่า NPV เป็น
                  ค่าเฉลี่ยต่อปีด้วยตัวกอบกู้ทุน (Capital Recovery Factor : CRF) การวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  ท าการวิเคราะห์ 2 ลักษณะดังนี้

                            1.  วิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทเดียวกันในหน่วยที่ดินต่างกัน ท าการวิเคราะห์

                  และเปรียบเทียบผลการผลิตที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อพิจารณาว่า พืชที่ท าการผลิตใน
                  หลายหน่วยที่ดินนั้น การผลิตในหน่วยที่ดินใดจะให้ผลตอบแทนได้ดีกว่ากัน โดยเปรียบเทียบด้าน

                  ผลผลิตต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรต่อไร่และต่อกิโลกรัม รวมทั้งอัตราส่วนรายได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปรเพื่อเปรียบเทียบและแสดงให้เห็นถึงรายได้ที่ได้รับจากการลงทุนที่เท่ากัน
                            2.  วิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ ตามหน่วยที่ดิน ท าการวิเคราะห์

                  ผลตอบแทนตามหน่วยที่ดินที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินจากค่าเฉลี่ยต่อไร่ ด้านมูลค่าผลผลิต ระดับ

                  การลงทุนหรือต้นทุนผันแปร ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน
                  ผันแปร ในกรณีที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินมากกว่า 1 ประเภทในหน่วยที่ดินเดียวกันจะพิจารณา

                  เปรียบเทียบผลตอบแทนจากค่าเฉลี่ยทั้ง 4 ด้านดังกล่าวว่า การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทใดให้

                  ผลตอบแทนที่ดีกว่ากัน

                            1) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทเดียวกันในหน่วยที่ดินต่างกัน (ตารางที่ 3-15)

                               เขตพื้นที่เกษตรน ้ำฝน ส ารวจจ านวน 5 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 28D 28E 30D

                  35D และ 38 ดังนี้

                               สับปะรด (นางแล ภูแล) การวิเคราะห์ครั้งนี้ก าหนดให้สับปะรดมีรอบอายุการผลิต 5 ปี ส ารวจ
                  จ านวน 2 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 28D และ 35D พบว่า ทั้ง 2 หน่วยที่ดินมีระดับความเหมาะสม

                  ทางเศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อปลูกสับปะรดอยู่ในระดับสูง (S1) ผลผลิต 3,147.17-
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136