Page 39 - Mae Klong Basin
P. 39

3-5





                        ลุมน้ำแมกลอง สามารถแบงตามสภาพภูมิประเทศไดเปน 2 บริเวณ คือบริเวณลุมน้ำแมกลอง

                  ตอนบนและตอนลาง โดยเขตลุมน้ำแมกลองตอนบน เริ่มแตเขตอำเภอเมืองกาญจนบุรีที่ลำน้ำแควใหญ
                  และแควนอย ไหลมาบรรจบกัน ขึ้นไปยังที่สูงในเทือกเขาที่เปนตนน้ำ สวนบริเวณที่เปนลุมน้ำแมกลอง
                  ตอนลาง คือสองฝงแมน้ำแมกลองจาก เขตอำเภอเมืองกาญจนบุรีไปจนออกอาวไทย ความแตกตาง

                  ระหวางสองบริเวณนี้ก็คือ สภาพภูมิประเทศทางตอนบนของลุมน้ำเปนที่สูง ซึ่งเปนบริเวณที่ลำน้ำแควใหญ
                  และแควนอยไหลผานซอกเขา และที่ราบระหวางเขาออกมาบรรจบกัน สภาพภูมิประเทศสองฝง
                  แมน้ำแควใหญเปนปาเขา จึงมีแหลงที่สงวนไวเปนอุทยานและเขตรักษาพันธุสัตวปาหลายแหง เชน
                  เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง อุทยานแหงชาติเขาสลอบ สวนสภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของลุมน้ำ

                  แควนอยจะเปนภูเขาใหญนอยเรียงสลับซับซอนและสูงชัน บางแหงเปนหนาผาสูงบางแหงเปนที่ราบ
                  ลำน้ำแควนอยไหลผานภูมิประเทศที่สวยงาม มีน้ำตก มีหวย และลำธารเล็กๆ ไหลลงลำน้ำเกือบตลอดสาย
                  สภาพปาสวนใหญเปนปาไมเบญพรรณและปาดงดิบ มีปาไผแซมอยูทั่วไป ในขณะที่สภาพภูมิประเทศ
                  ทางตอนลาง คือเขตที่ราบลุมตั้งแตอำเภอเมืองกาญจนบุรีลงมาจนถึงอาวไทย มีลักษณะเปนบริเวณ

                  ที่ราบลุมกวางขวาง อยูสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางเพียง 1-2 เมตร เมื่อเขาไปในเขตใกลทะเลก็ยิ่ง
                  มีลักษณะเปนที่ราบชายฝงมีความลาดเอียงนอยกวา 1 เปอรเซ็นต สวนแมน้ำทาจีนแยกออกมาทางฝงขวา
                  ของแมน้ำเจาพระยาที่จังหวัดชัยนาท ไหลผานจังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม และออกสูอาวไทยที่
                  จังหวัดสมุทรสาคร (ศูนยปองกันวิกฤติน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ, 2555)

                        แมน้ำแมกลอง มีความลาดชันของลำน้ำสูงเนื่องจากลำน้ำสวนใหญอยูในหุบเขาจึงเกิดปริมาณ
                  น้ำนองและน้ำไหลบาคอนขางสูง โดยมีลักษณะขึ้นเร็วลงเร็ว ทิศทางการไหลของแมน้ำแมกลองไหลจาก
                  ทิศเหนือลงทิศใต แมน้ำแมกลอง เปนแมน้ำที่มีสภาพพื้นที่ริมฝงเปนแกงและหุบเหวมากที่สุด เมื่อเทียบกับ
                  แมน้ำสายอื่นของโลก มีลักษณะพื้นทองน้ำเปนหิน บริเวณชายฝงเปนหนาผาชันมีหาดทรายปนโคลนและ

                  เนินทรายในบางตอน ระดับน้ำในฤดูน้ำและฤดูน้ำหลากอาจตางกันถึง 30 เมตร แสดงดังตารางที่ 3-1

                  ตารางที่ 3-1 รายละเอียดของจังหวัด ในลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง

                                                      พื้นที่ในเขตลุมน้ำแมกลอง**          รอยละพื้นที่
                                     พื้นที่จังหวัด*                            รอยละพื้นที่
                        จังหวัด                                                              ในลุมน้ำ
                                       (ตร.กม.)                                   จังหวัด
                                                      (ตร.กม.)        (ไร)                  แมกลอง
                    ตาก                 16,406.650        4,834.88     3,021,800      29.47       15.99
                    อุทัยธานี            6,730.246        2,237.98     1,398,736      33.25        7.40
                    กาญจนบุรี           19,483.148       17,277.69     10,798,557     88.68       57.16

                    สุพรรณบุรี           5,358.008         621.96       388,726       11.61        2.06
                    นครปฐม               2,168.327         254.80       159,251       11.75        0.84

                    ราชบุรี              5,196.462        4,602.96     2,876,853      88.58       15.23
                    สมุทรสาคร              872.347         181.99       113,746       20.86        0.60
                    สมุทรสงคราม            416.707         215.85       134,906       51.80        0.71
                                 รวม                   30,228.12    18,892,575                  100.00

                  หมายเหตุ : * ปรับปรุงพื้นที่จังหวัดของกรมสงเสริมการปกครอง (2564)
                           ** ปรับปรุงพื้นที่ลุมน้ำของสำนักงานทรัพยากรน้ำแหงชาติ (2564)





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44