Page 35 - Mae Klong Basin
P. 35

1





                                                         บทที่ 3

                                                      ขอมูลทั่วไป


                  3.1  ที่ตั้งและอาณาเขตติดตอ

                        ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง เปนลุมน้ำหลักลำดับที่ 14 จากจำนวน 22 ลุมน้ำหลักของประเทศ
                  (สำนักงานทรัพยากรน้ำแหงชาติ, 2564) แมน้ำแมกลอง ความยาวประมาณ 560 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่
                  จังหวัดตาก จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี
                  จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม มีพื้นที่ 18,892,575 ไร หรือ 30,228.12 ตารางกิโลเมตร
                                                                     ๐
                                                                                         ๐
                        พื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง ตั้งอยูระหวางเสนรุงที่ 13  8' เหนือ ถึงเสนรุงที่ 16  17' เหนือ และ
                                                                  ๐
                                     ๐
                  ระหวางเสนแวงที่ 98  6' ตะวันออก ถึงเสนแวงที่ 100  9' ตะวันออก ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
                  มีอาณาเขตติดตอ คือ
                          อาณาเขต

                            ทิศเหนือ    ติดตอ   แมน้ำเมยตอนบน(0120) หวยแมละเมา (0121) คลองวังเจา
                                                 (0625)
                            ทิศใต     ติดตอ   แมน้ำเพชรบุรีตอนบน (1801)หวยแมประจัน (1802)
                                                 แมน้ำเพชรบุรีตอนลาง (1803) และอาวไทย

                            ทิศตะวันออก ติดตอ   คลองสวนหมาก (0629) น้ำแมวง (1101) หวยทับเสลา (1104)
                                                 หวยกระเสียว (1301) ที่ราบแมน้ำทาจีน (1302)
                            ทิศตะวันตก  ติดตอ   ประเทศเมียนมา

                  3.2  ลักษณะภูมิประเทศ

                        ลุมน้ำแมกลอง ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของประเทศไทย ทางฝงขวาของลุมน้ำเจาพระยา
                  ขอบเขตของลุมน้ำ เริ่มจากอำเภออุมผาง ซึ่งอยูทางตอนลางของเขตจังหวัดตาก ลงมาทางทิศใตจนถึง
                  เขตติดตอระหวางจังหวัดราชบุรีกับจังหวัดเพชรบุรี มีพื้นที่ลุมน้ำรวมทั้งสิ้น 30,171.24 ตารางกิโลเมตร
                  ครอบคลุมพื้นที่ 9 จังหวัด ไดแก จังหวัดตาก อุทัยธานี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี

                  สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และจังหวัดเพชรบุรี ลักษณะของลุมน้ำวางตัวตามแนวทิศเหนือ-ใต
                  มีทิศเหนือติดกับลุมน้ำแมกลอง ทิศตะวันตกติดเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งเปนเทือกเขาสูงชัน
                  แบงเขตชายแดนไทยกับประเทศพมา (Myanma) ทิศตะวันออกติดกับลุมน้ำทาจีนและลุมน้ำสะแกกรัง
                  สวนทางทิศใตติดกับลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธและอาวไทย

                        ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง สามารถแบงตามสภาพภูมิประเทศไดเปน 2 บริเวณ คือบริเวณลุมน้ำ
                  แมกลองตอนบนและตอนลาง โดยเขตลุมน้ำแมกลองตอนบน เริ่มแตเขตอำเภอเมืองกาญจนบุรีที่ลำน้ำ
                  แควใหญและแควนอย ไหลมาบรรจบกัน ขึ้นไปยังที่สูงในเทือกเขาที่เปนตนน้ำ สวนบริเวณที่เปนลุมน้ำ

                  แมกลองตอนลาง คือสองฝงแมน้ำแมกลองจาก เขตอำเภอเมืองกาญจนบุรีไปจนออกอาวไทย
                  ความแตกตางระหวางสองบริเวณนี้ก็คือ สภาพภูมิประเทศทางตอนบนของลุมน้ำเปนที่สูง ซึ่งเปนบริเวณ
                  ที่ลำน้ำแควใหญและแควนอยไหลผานซอกเขา และที่ราบระหวางเขาออกมาบรรจบกัน
                  สภาพภูมิประเทศสองฝงแมน้ำแควใหญเปนปาเขา จึงมีแหลงที่สงวนไวเปนอุทยานและเขตรักษาพันธุสัตวปา







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40