Page 169 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 169

4-9





                  ในเขตอ าเภอเวียงป่าเป้า อ าเภอแม่สรวย อ าเภอแม่ลาว อ าเภอพาน อ าเภอเมืองเชียงราย และอ าเภอ

                  เวียงชัย จังหวัดเชียงราย

                                   รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                1)  พัฒนาแหล่งน ้าเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต เช่น บ่อน ้าขนาดเล็กในไร่นา
                  รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน ้าตามธรรมชาติ ให้สามารถกักเก็บน ้าได้ดีขึ้น เพื่อใช้ส าหรับปลูกพืชเพื่อลด

                  ความเสียหายจากกรณีฝนทิ้งช่วง

                                2)  คัดเลือกข้าวพันธุ์ดีและมีราคาสูงในการเพาะปลูก
                                3)  ควรปรับปรุงบ ารุงดิน โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยพืชสดหรือ

                  ไถกลบตอซัง เพื่อเพิ่มความสามารถการดูดซับธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ของดิน ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมี

                                4)  ปรับเปลี่ยนการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเป็นการใช้ที่ดินในรูปแบบเกษตรผสมผสาน

                  ตามแนวทางทฤษฎีใหม่และเกษตรพอเพียง โดยการขุดบ่อน ้าเลี้ยงปลายกร่องปลูกผัก ไม้ผล ไม้ยืนต้น
                  และนาข้าวร่วมกัน

                              (2.2)  เขตปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 29,495 ไร่ หรือร้อยละ 1.69 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                  สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย และพื้นที่ลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กน้อยถึงเนินเขา มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินทรายแป้ง ดินร่วนละเอียด ดินร่วน ดินปานกลาง

                  ถึงชั้นหินพื้น เศษหินหรือลูกรัง ดินที่พบเป็ นดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน ้าดี

                  ความอุดมสมบูรณ์ของดินต ่าและปานกลางถึงสูง มีความเหมาะสมระดับปานกลางถึงสูงส าหรับการปลูก
                  พืชไร่ สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นพืชไร่ เช่น ข้าวโพด มันส าปะหลัง ยาสูบ พื้นที่เขตนี้

                  ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไร่ที่อาศัยน ้าฝนเป็นหลัก ส่วนใหญ่พบในเขต

                  อ าเภอเวียงป่าเป้า อ าเภอแม่สรวย อ าเภอแม่ลาว อ าเภอพาน อ าเภอเมืองเชียงราย และอ าเภอเวียงชัย
                  จังหวัดเชียงราย

                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                1) ควรมีการปรับปรุงบ ารุงดินโดยการใช้ปุ๋ ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ ยวิทยาศาสตร์

                  เพื่อเพิ่มธาตุอาหารและปรับโครงสร้างของดิน
                                2) ควรเร่งพัฒนาระบบชลประทานเพื่อปรับรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการ

                  ปลูกพืชล้มลุกมาเป็นการปลูกไม้ผลหรือพืชผัก

                                3) ควรท าการเพาะปลูกพืชในช่วงระยะเวลาที่ดินมีความชื้นที่เหมาะส าหรับพืช

                                4) ปรับปรุงคุณภาพของดินให้มีความอุดมสมบูรณ์และลักษณะทางกายภาพของ
                  ดินที่เหมาะสมส าหรับการปลูกพืช โดยการใช้ปุ๋ ยอินทรีย์ต่างๆ เช่น ปุ๋ ยพืชสด ปุ๋ ยคอก ซึ่งช่วยในการ

                  ปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ดีขึ้น
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174