Page 165 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 165

4-5





                  รบกวน สามารถฟื้นตัวเป็นป่าสมบูรณ์ตามธรรมชาติได้ พื้นที่เขตนี้พบบริเวณตอนกลางและทางตอนบน

                  ของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา

                                   รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                1)  ก าหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันมิให้ราษฎรบุกรุกพื้นที่ในเขตนี้
                  เพื่อน ากลับมาใช้ด้านเกษตรกรรม และพัฒนาพื้นที่ให้เอื้อต่อการฟื้นตัวของป่าไม้ ตลอดจนรณรงค์

                  และสร้างจิตส านึกของชุมชนในการใช้ประโยชน์จากป่าร่วมกัน และให้ความรู้ในการปกป้องรักษา

                  พื้นที่ป่า
                                   2)  ด าเนินปลูกป่า พร้อมทั้งจัดท าระบบอนุรักษ์เพื่อให้พื้นที่ป่าสามารถกลับคืนสู่

                  สภาพป่าสมบูรณ์ได้โดยเร็ว

                                (2.3)  เขตฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เงื่อนไข 2 มีเนื้อที่ 38,514 ไร่ หรือร้อยละ

                  2.21 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา พื้นที่เขตนี้อยู่ในเขตป่าตามกฎหมาย ดังนั้นมาตรการการใช้ที่ดินดังกล่าว
                  ควรเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องมาตรการและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้

                  เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 ซึ่งมาตรการการใช้ที่ดินพื้นที่ในเขตนี้อยู่ภายใต้ข้อก าหนดให้เป็นป่าไม้

                  เพื่อการใช้ประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นป่าไม้ที่สมบูรณ์ตามธรรมชาติ ต่อมามี
                  การบุกรุกโดยการตัดต้นไม้และน าที่ดินมาใช้ประโยชน์ด้านเกษตรกรรม หรือบริเวณที่เป็นดินตื้นซึ่งไม่

                  เหมาะสม ต่อการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมเนื่องจากข้อจ ากัดดังกล่าว ปัจจุบัน พืชที่พบได้แก่ ข้าว

                  ข้าวโพด มันส าปะหลัง ยางพารา ปาล์มน ้ามัน สัก ชา ลิ้นจี่ และล าไย พื้นที่เขตนี้พบกระจายตัวเป็น
                  หย่อมๆ อยู่บริเวณทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และตอนกลางของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา

                                  รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                1)  บริเวณพื้นที่ที่ถูกบุกรุกจนหมดสภาพป่าไม้ และเป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                  ส าหรับการท าเกษตรกรรม ควรพิจารณาด าเนินการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

                                2)  รณรงค์และสร้างจิตส านึกให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาและใช้ประโยชน์

                  จากป่าร่วมกัน และให้ความรู้ในการปกป้องรักษาพื้นที่ป่า

                        4.1.2  เขตเกษตรกรรม
                            มีเนื้อที่ 328,889 ไร่ หรือร้อยละ 18.84 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา พื้นที่เขตเกษตรกรรมนี้เป็น

                  บริเวณที่อยู่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมายรวมถึงพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อ

                  เกษตรกรรมส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตรกรรม เขตนี้ก าหนดขึ้นมาเพื่อการพัฒนาทางด้าน

                  การเกษตรเป็นหลักเป็นเขตที่มีความส าคัญต่อเศรษฐกิจเกี่ยวข้องกับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
                  ส่วนใหญ่ของลุ่มน ้า สามารถแบ่งพื้นที่ตามความเหมาะสมและศักยภาพของพื้นที่ได้เป็ น

                  7 เขต คือ
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170