Page 166 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 166

4-6





                            1)  เขตเกษตรพัฒนา มีเนื้อที่ 73,214 ไร่ หรือร้อยละ 4.19 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา

                  พื้นที่เกษตรกรรมนี้ เป็นบริเวณที่อยู่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมาย หรือเป็นพื้นที่

                  ที่ได้รับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เขตเกษตรกรรมนี้เกษตรกรมีการใช้พื้นที่ด้านการท า

                  เกษตรกรรมเป็นหลักเป็ นพื้นที่ที่อยู่ในเขตชลประทานหรือระบบสูบน ้าด้วยไฟฟ้ามาใช้เพื่อ
                  เกษตรกรรมสามารถส่งน ้าช่วยในการปลูกพืชโดยเฉพาะเวลาฝนทิ้งช่วงเขตนี้มีศักยภาพสูงในการ

                  ผลิตและสามารถพัฒนาการผลิตทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณ เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิตให้สูงขึ้นได้

                  มากกว่าเขตอื่นในลุ่มน ้าสาขาเขตเกษตรพัฒนาสามารถแบ่งได้เป็น 3 เขตย่อย คือ
                              (1.1)  เขตท านา 1 มีเนื้อที่ 67,533 ไร่ หรือร้อยละ 3.87 ของเนื้อที่ลุ่มน ้าสาขา สภาพ

                  พื้นที่ในเขตนี้เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินร่วนเหนียว ถึงดินร่วน

                  หยาบ ดินที่พบเป็นดินลึกมาก มีการระบายน ้าเลวถึงค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง

                  หรือสภาพพื้นที่ในเขตนี้เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการระบายน ้าดี
                  และดีปานกลาง ในหน่วยที่ดินที่มีการท าคันนาเพื่อท านา ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง มีความ

                  เหมาะสมระดับปานกลางถึงสูงส าหรับการท านา สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันเป็นนาข้าว พื้นที่เขตนี้

                  ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกข้าวที่อาศัยระบบชลประทาน ส่วนใหญ่พบในเขต
                  อ าเภอเวียงป่าเป้า อ าเภอแม่สรวย อ าเภอพาน อ าเภอแม่ลาว อ าเภอเมืองเชียงราย และอ าเภอเวียงชัย

                  จังหวัดเชียงราย

                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                              1)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ โดยใช้ข้าวพันธุ์ดีร่วมกับ

                  การปรับปรุงบ ารุงดินด้วยการใช้ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยชีวภาพควบคู่กับการใช้ปุ๋ ยเคมีซึ่งจะเป็น

                  การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ ย เป็นการลดต้นทุนการผลิต

                              2)  สนับสนุน ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม การลดต้นทุน
                  การผลิต โดยการปรับปรุงพันธ์พืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่

                              3)  ปรับปรุงโครงสร้างของระบบการส่งน ้าให้อยู่ในสภาพที่ดีพร้อมใช้งานได้

                  ตลอดเวลาโดยการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารชลประทาน และขุดลอกคูคลองส่งน ้าต่างๆ ให้สามารถส่งน ้า
                  ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                              4)  ควรมีการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกร

                  เพื่อก าหนดรูปแบบและระยะเวลาของการเพาะปลูก โดยการก าหนดปฏิทินการปลูกพืชให้สอดคล้อง

                  กับปริมาณน ้าต้นทุนของแต่ละปี เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนน ้าในการเพาะปลูกและอุปโภค บริโภค
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171