Page 191 - Phetchaburi
P. 191

4-29





                  และการพัฒนาแหลงน้ำใตดิน ในปจจุบันมีบอบาดาลทั้งหมด 962 บอ แบงเปนบอบาดาลเพื่อ

                  การเกษตร จำนวน 81 บอ และบอบาดาลเพื่ออุปโภค - บริโภค จำนวน 881 บอ
                      4.4.3 ดานทรัพยากรดิน

                          จังหวัดเพชรบุรี มีหนวยแผนที่ดินทั้งหมด 178 หนวยแผนที่ดิน แบงเปนหนวยแผนที่ดิน
                  174 หนวยชุดดิน มีเนื้อที่ 1,523,637 ไร หรือรอยละ 39.18 ของพื้นที่จังหวัด ไดแก หนวยแผนที่ดินที่
                  อยูในพื้นที่ลุม 49 หนวยแผนที่ดิน มีเนื้อที่ 514,289 ไร หรือรอยละ 13.22 ของพื้นที่จังหวัด และหนวย
                  แผนที่ดินที่อยูในพื้นที่ดอน 125 หนวยแผนที่ดิน มีเนื้อที่ 1,009,348 ไร หรือรอยละ 25.96 ของพื้นที่จังหวัด

                  และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 4 หนวยแผนที่ดิน มีเนื้อที่ 2,367,074 ไร หรือรอยละ 60.82 ของพื้นที่จังหวัด ไดแก
                  พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ (AQ พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC) พื้นที่ชุมชน (U) และพื้นที่น้ำ (W) แบงตามสภาพพื้นที่
                  คือ (1) ดินในพื้นที่ลุม มีเนื้อที่ 514,289 ไร หรือรอยละ 13.22 ของพื้นที่จังหวัด สภาพพื้นที่เปนที่

                  ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ การระบายน้ำเลวมากถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณต่ำถึงสูง ดินลึกมาก
                  และ (2) ดินในพื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 1,009,348 ไร หรือรอยละ 25.96 ของพื้นที่จังหวัด สภาพพื้นที่เปน
                  ที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน การระบายน้ำเลวถึงคอนขางมาก ความอุดมสมบูรณ
                  ต่ำถึงสูง ดินลึกปานกลางถึงลึกมาก โดยทรัพยากรดินมีปญหาทางการเกษตร แบงไดเปน (1) ดินกรด

                  มีเนื้อที่ 367,261 ไร หรือรอยละ 9.44 ของพื้นที่จังหวัด แบงเปนในที่ลุม มีเนื้อที่ 11,115 ไร หรือรอยละ
                  0.29 ของพื้นที่จังหวัด (2) ดินเค็มชายทะเล มีเนื้อที่ 90,305 ไร หรือรอยละ 2.33 ของพื้นที่จังหวัด
                  (3) ดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกำมะถันตื้น มีเนื้อที่ 2,766 ไร หรือรอยละ 0.07 ของพื้นที่จังหวัด
                  (4) ดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดกำมะถันลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 32,713 ไร หรือรอยละ 0.84 ของพื้นที่จังหวัด

                  (5)ดินทรายจัด มีเนื้อที่ 16,779 ไร หรือรอยละ 0.43 ของพื้นที่จังหวัด (6) ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นลูกรัง
                  กอนกรวด หรือเศษหิน มีเนื้อที่ 319,396 ไร หรือรอยละ 8.22 ของพื้นที่จังหวัด และ (7) ดินตื้นในที่ดอน
                  ถึงชั้นปูนมารล มีเนื้อที่ 3,358 ไร หรือรอยละ 0.08 ของพื้นที่จังหวัด

                      4.4.3 ดานพืชเศรษฐกิจ
                          พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ พืชที่มีอนาคต พืชเสริมรายได และพืชทางเลือก ซึ่งปจจุบันปลูกอยู

                  ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี และมีศักยภาพในการปลูกในอนาคต ไดแก (1) พืชเศรษฐกิจที่สำคัญและเปนพืช
                  ที่มีอนาคตทั้งดานคุณภาพและราคาตลาด เปนพืชอัตลักษณของจังหวัดเพชรบุรี คือ ตาลโตนด ชมพูเพชร
                  มะนาวเพชรบุรี (2) พืชเศรษฐกิจที่สำคัญและเปนพืชที่มีอนาคตทั้งดานคุณภาพและราคาตลาดของ
                  จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งสามารถพัฒนาเปนผลิตภัณฑแปรรูป ไดแก ขาวนาป ขาวนาปรัง กลวยหอม กลวยน้ำวา
                  สับปะรด ออยโรงงาน มะพราว และมันสำปะหลัง (3) พืชที่จะปลูกตามนโยบายของกระทรวงเกษตร

                  และสหกรณ ไดแก พืชสมุนไพร พืชหลังนาสรางรายไดผานกลไกสหกรณ และพืชทดแทนพลังงาน
                  (4) พืชเสริมรายได ไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตว พืชผัก หนอไมฝรั่ง ไมดอกไมประดับ เปนตน และ
                  (5) พืชทางเลือกเพิ่มเติมในอนาคต คือ หนอไมไผหวาน ปาลมน้ำมัน ไมผลผสม ยางพารา เปนตน
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196