Page 180 - Chumphon
P. 180

4-30





                  4.4  การวิเคราะหเพื่อจัดทำแผนการใชที่ดิน

                      จังหวัดชุมพร มีเนื้อที่ 6,009.008 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,755,630 ไร โดยการวิเคราะหเพื่อ
                  จัดทำแผนการใชที่ดิน พิจารณาจากขอมูลดานทรัพยากรปาไม ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรดิน พืชเศรษฐกิจ

                  ที่สำคัญ และเศรษฐกิจและสังคม ของจังหวัดชุมพร ดังนี้
                      4.4.1 ดานทรัพยากรปาไม

                          จังหวัดชุมพร มีพื้นที่ปาครอบคลุมทุกอำเภอ แตจะมีความหนาแนนทางดานทิศตะวันตก
                  ของพื้นที่จังหวัด สภาพการใชที่ดินจังหวัดชุมพร ป 2563 พบวา พื้นที่จังหวัดชุมพร มีสภาพพื้นที่เปนปา
                  สมบูรณ 930,761 ไร หรือรอยละ 24.79 ของเนื้อที่จังหวัด และเปนพื้นที่ปารอสภาพฟนฟู 35,438 ไร

                  หรือรอยละ 0.94 ของเนื้อที่จังหวัด  สำหรับประเภทปาในจังหวัดชุมพร จัดเปนประเภทไมผลัดใบ
                  ซึ่งจำแนกเปน 3 ชนิด ตามลักษณะของสภาพปาที่แตกตางกัน ประกอบดวย ปาดิบชื้น ปาชายเลน
                  และปาพรุ จากการการวิเคราะหขอมูลที่ดินของรัฐดานทรัพยากรปาไม โดยเมื่อพิจารณาจำแนกพื้นที่
                  ปาไมตามขอกำหนดการใชที่ดินประเภทและวัตถุประสงคของการประกาศเขตปาไมตามกฎหมาย

                  สามารถจำแนกได คือ (1) พื้นที่จังหวัดอยูในเขตพื้นที่อนุรักษ เนื้อที่รวมประมาณ 802,293 ไร หรือรอยละ
                  21.37 ของเนื้อที่จังหวัด (2) การจำแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในเขตปาสงวน
                  แหงชาติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 มีพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ 1,990,258 ไร
                  หรือรอยละ 52.98 ของเนื้อที่จังหวัด

                      4.4.2 ดานทรัพยากรน้ำ

                          พื้นที่จังหวัดชุมพรตั้งอยูในเขตลุมน้ำหลัก ลุมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ ลุมน้ำภาคใตฝง
                  ตะวันตก ลุมน้ำภาคใตฝงตะวันออกตอนบน และลุมน้ำภาคใตฝงตะวันออกตอนบน (เกาะ)
                  ซึ่งประกอบดวย แมน้ำลำคลองสายสั้นๆ ไหลจากเทือกเขาฝงตะวันตกของจังหวัด คือ เทือกเขาตะนาวศรี

                  ซึ่งเปนแหลงตนน้ำลงสูอาวไทย แมน้ำสายตาง ๆ มีความสำคัญตอความเปนอยูและเศรษฐกิจของ
                  ประชากรเปนอยางมาก และมีแหลงน้ำผิวดินในจังหวัดชุมพรที่สำคัญๆ มีแมน้ำสำคัญหลายสาย เชน
                  แมน้ำทาตะเภา ในอำเภอเมืองชุมพร มีความยาว 33 กิโลเมตร แมน้ำสวี ในอำเภอสวี มีความยาว 50
                  กิโลเมตร และ แมน้ำหลังสวน ในอำเภอหลังสวน มีความยาว 100 กิโลเมตร แมน้ำทุกสายไหลลงสูอาวไทย
                  ในทะเลนอกฝงของจังหวัดชุมพร มีเกาะนอยใหญเกือบ 50 เกาะ การพัฒนาแหลงน้ำผิวดินเปนโครงการ

                  ที่มีลักษณะแตกตางกันทั้งดานขนาด การใชประโยชน และหนวยงานที่รับผิดชอบดำเนินการสรางและ
                  บำรุงรักษา โดยขนาดของโครงการพัฒนาแหลงน้ำผิวดินสามารถแบงไดเปนโครงการขนาดใหญ
                  โครงการขนาดกลาง โครงการขนาดเล็ก และโครงการสูบน้ำดวยไฟฟา ซึ่งจังหวัดชุมพรมีโครงการ

                  ชลประทานทั้งหมดจำนวน 280 โครงการ แบงเปนโครงการชลประทานขนาดใหญ จำนวน 1 โครงการ
                  โครงการขนาดกลาง จำนวน 1 โครงการ และโครงการขนาดเล็ก จำนวน 278 โครงการ โครงการที่มีใน
                  ปจจุบันกักน้ำได 10.09 ลานลูกบาศกเมตร เปนพื้นที่ชลประทาน128,001 ไร การพัฒนาแหลงน้ำใตดิน
                  ซึ่งในปจจุบันมีบอบาดาลทั้งหมด 1,187 บอ แบงเปนบอบาดาลเพื่อการเกษตร จำนวน 162 บอ

                  และบอบาดาลเพื่ออุโภค-บริโภค จำนวน 1,025 บอ
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185