Page 164 - Chumphon
P. 164

4-14





                  รูปแบบการทองเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism) เปนการทองเที่ยวที่คำนึงถึงมาตรฐาน

                  ดานการทองเที่ยวอยางยั่งยืน อยางไรก็ตามความเชื่อมโยงของระบบการทองเที่ยวและพื้นที่เศรษฐกิจ
                  ยังไมครบถวนเพียงพอ ระบบการเดินทางระหวางแหลงทองเที่ยวยังไมทั่วถึง และมีปญหาการจราจร

                  ในชวงวันหยุด หรือชวงเทศกาล โดยเฉพาะชวงผานตัวเมืองชุมพร ดังนั้นการกอสรางเสนทางเชื่อมโยง
                  แหลงทองเที่ยวจึงเปนประเด็นสำคัญเรงดวนที่จะตองดำเนินการ ซึ่งพื้นที่จังหวัดชุมพรยังเปนพื้นที่ระเบียง

                  เศรษฐกิจพิเศษภาคใต (Southern Economic Corridor: SEC) มีรูปแบบการพัฒนาพื้นที่ (จังหวัดชุมพร–
                  ระนอง และพื้นที่จังหวัดสุราษฎรธานี-นครศรีธรรมราช) ประกอบดวย (1) การพัฒนาประตูการคา

                  ฝงตะวันตก (Western Gateway) ใหสามารถเชื่อมโยงโครงขายและใชประโยชนในการเปนประตูสงออก
                  สินคาฝงตะวันตกเพื่อเชื่อมโยงกับพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกไปยังกลุมประเทศ BIMSTEC
                  (2) การพัฒนาประตูสูการทองเที่ยวอาวไทยและอันดามัน (Royal Coast & Andaman Route) พัฒนาการ

                  เชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวในพื้นที่ฝงอันดามันตอเนื่องไปจนถึงฝงอาวไทยตอนบนบริเวณหัวหิน ชะอำ ใหเปน
                  แนวการทองเที่ยวชั้นนำแหงใหม และพัฒนาเปนพื้นที่เศรษฐกิจใหมดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อรองรับ

                  นักทองเที่ยวคุณภาพ (3) การพัฒนาอุตสาหกรรมฐานชีวภาพและการแปรรูปการเกษตรมูลคาสูง
                  (Bio-Based & Processed Agricultural Products) จากการใชทรัพยากรการผลิตทั้งในพื้นที่และประเทศ

                  เพื่อนบาน เพื่อพัฒนาเปนศูนยกลางการแปรรูปการเกษตรและการประมงในภาคใต และ (4) การอนุรักษ
                  ทรัพยากรและวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยวและการเรียนรู รวมทั้งเมืองนาอยู (Green, Culture &

                  Livable Cities)
                        ประเด็นที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และพลังงานใหมีความสมดุล
                  และยั่งยืน มีแนวทางการพัฒนา : (1) พัฒนาศักยภาพองคกรชุมชน (ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม

                  ชุมชน) รวมกับภาครัฐในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และสาธารณภัย ตลอดจนสราง
                  เครือขายอนุรักษ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (2) ปองกัน สงวน อนุรักษ และฟนฟู

                  ทรัพยากรธรรมชาติใหมีการใชประโยชนอยางสมดุล และ (3) สงเสริมการใชพลังงานทดแทนและพลังงาน
                  ทางเลือก จังหวัดชุมพร มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อุดมสมบูรณ ซึ่งทรัพยากรปาไมที่มีอยูเปน

                  สิ่งที่มีคุณคายิ่งตอวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ไมวาจะปองกันปญหาหรือภัยพิบัติที่เกิดจากธรรมชาติ
                  อีกทั้งยังเปนฐานทรัพยากรที่สำคัญดานอาหาร เปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติหรือแหลงทองเที่ยวเชิง

                  นิเวศนที่สำคัญ และเปนแหลงที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืช พันธุสัตว โดยเฉพาะพื้นที่ปา
                  จะมีสมุนไพรที่สำคัญตอการรักษาทางการแพทย และแหลงเกิดของสัตวปา แตขณะเดียวกัน การลดลงของ
                  พื้นที่ปาไมดังกลาวขางตนสงผลกระทบตอระบบนิเวศนปาไม ทำใหเกิดความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ

                  เชน น้ำทวมในฤดูฝน และแหงแลงจัดในฤดูแลง ดังที่ปรากฏอยูในปจจุบัน จากสภาพความเสื่อมโทรม
                  และการลดลงของทรัพยากรปาไม กอใหเกิดภัยพิบัติตาง ๆ ที่รุนแรง หากไมดำเนินการ อนุรักษ ฟนฟู และ

                  ปองกันรักษาทรัพยากรปาไมใหเกิดความสมดุล ก็จะเกิดภัยพิบัติที่รุนแรงขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิดความเสียหาย
                  ตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ที่รุนแรงขึ้นในอนาคต สงผลตอความมั่นคงในระดับประเทศ ตอไป

                  (1) อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปา (2) อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝง
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169