Page 163 - Chumphon
P. 163

4-13





                  การแปรรูปที่ดี (GMP: Good Manufacturing Practice) มีจำนวนนอยเนื่องจากไมทราบวิธีการผลิต

                  สินคาเกษตรที่มีคุณภาพปลอดภัยใหไดตามมาตรฐานดังกลาว สวนใหญผลผลิตที่ออกสูตลาดเปนจำนวน
                  มากไมมีคุณภาพ ตองรีบระบายผลผลิตภายในระยะเวลาจำกัด มีความตองการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี
                  การผลิตตามนโยบายสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในรัฐบาลชุดปจจุบันคือ โมเดลประเทศไทย

                  4.0 (Thailand Economic 4.0) ซึ่งเปนนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจที่ปรับเปลี่ยนโครงสรางการผลิต
                  เนนการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลคาสินคาและบริการ เปนนโยบายที่วางรากฐานการพัฒนา
                  ประเทศในระยะยาว ฐานคิดดังกลาวเปนการพัฒนาแบบ “Value-added Economy” ที่เนนการสราง
                  มูลคาเพิ่ม เนนเทคโนโลยี นวัตกรรม และเนนการบริการ (มากกวาขายสินคา) จะทำใหประเทศไทยเติบโต

                  อยางมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน อยางไรก็ตามในปลายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 นี้
                  รัฐบาลมีเปาหมายใหภาคเศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ย รอยละ 5 เพื่อเปนแรงกระตุนใหประเทศหลุดพนจากกับ
                  ดักประเทศที่มีรายไดปานกลางไปสูประเทศที่มีรายไดสูงในปลายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                  ฉบับที่ 13 ตอไป

                        นโยบายของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ไดกำหนดนโยบายขอ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจและ
                  ความสามารถในการแขงขันของไทย ขอ 5.5 การพัฒนาภาคการทองเที่ยว 5.4.1) พัฒนาคุณภาพและความ
                  หลากหลายของแหลงทองเที่ยว โดยสงเสริมพัฒนาใหประเทศไทยเปนแหลงทองเที่ยวคุณภาพระดับโลกที่มี

                  เอกลักษณโดดเดนพื้นฐานของวัฒนธรรมไทย การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                  และการจัดการขยะและของเสียเพื่อใหเกิดความยั่งยืนของระบบนิเวศ สิ่งแวดลอมและชุมชนทองถิ่น

                  รวมทั้งพัฒนาการทองเที่ยวในรูปแบบหลายประเทศจุดมุงหมายเดียวกัน การพัฒนาแหลงทองเที่ยวใน
                  เชิงกลุมพื้นที่เมืองหลักและเมืองรองที่มีศักยภาพ การทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและวัฒนธรรม การทองเที่ยว

                  เชิงธุรกิจ การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การทองเที่ยวเชิงกีฬาและนันทนาการ การทองเที่ยวเรือสำราญ
                  และการทองเที่ยวเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน จากการเปดเสรีเศรษฐกิจอาเซียน ในป พ.ศ. 2558 ซึ่งจะ

                  กอใหเกิดการเคลื่อนยายสินคาการบริการ แรงงานฝมือ การลงทุนอยางเสรี ในภาคสวนของการทองเที่ยว
                  จะกอใหเกิด การเคลื่อนยายแรงงานทางการทองเที่ยว ทั้งภาคโรงแรม รานอาหาร และธุรกิจตอเนื่อง
                  ทางการทองเที่ยว อีกทั้งประชาชน ในกลุมอาเซียนสามารถเดินทางขามประเทศในกลุมประเทศอาเซียน

                  อยางเสรี ทำใหนักทองเที่ยวในประเทศอาเซียนสามารถเดินทางทองเที่ยวไดอยางเสรีจะกอใหเกิด
                  การแขงขันทางการทองเที่ยวเปนอยางมาก ทั้งในแงของแหลงทองเที่ยว กิจกรรมการทองเที่ยว การบริการ

                  ทางการทองเที่ยว และการตลาดทองเที่ยว การที่นักทองเที่ยวสามารถเลือกที่จะเดินทางไปทองเที่ยวใน
                  กลุมประเทศอาเซียนอยางเสรี จะทำใหเกิดการขยายตัวทางการทองเที่ยว และกอใหเกิดผลกระทบตอ

                  แหลงทองเที่ยวที่ตองมีการพัฒนาใหพรอมรองรับตอการทองเที่ยวที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกัน
                  ก็ตองพัฒนากิจกรรมทางการทองเที่ยว และเอกลักษณที่จะดึงดูดนักทองเที่ยว เดินทางมาทองเที่ยว

                  จังหวัดชุมพรมีศักยภาพสูงในการเปนแหลงทองเที่ยวที่มีความหลากหลายทั้งทรัพยากรธรรมชาติ
                  (ภูเขา สัตวปาและพันธุพืช ทะเล หาดทราย ฯลฯ) สถานที่ทางประวัติศาสตรศิลปวัฒนธรรม และมีความพรอม
                  ดานบริการมีความเปนอัตลักษณมีสินคา OTOP และกิจกรรมนันทนาการที่ภาคเอกชนไดริเริ่มเปนแหลงผลิต

                  สินคา และอาหาร โดยเฉพาะผลผลิตทางการเกษตรและมีความพรอมในดานการบริการการทองเที่ยว
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168