Page 162 - Chumphon
P. 162

4-12






                  4.2  การวิเคราะหความตองการของพื้นที่
                        ความตองการของพื้นที่คิดแบบองครวมที่ครอบคลุมทุกมิติในดานเศรษฐกิจ สังคม
                  ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และความมั่นคง แตการวางแผนการใชที่ดินระดับจังหวัดชุมพร
                  การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกของจังหวัดชุมพร และเนนประเด็นทรัพยากรที่
                  เกี่ยวเนื่องกับการผลิตทางการเกษตร และระบบการผลิตเกิดจากความตองการของเกษตรกร และปญหา

                  ที่พบในพื้นที่ปนสวนใหญ เพื่อกำหนดพื้นที่เปาหมายในการแกไขปญหาทรัพยากรดานการผลิตอยางเปนระบบ
                  (Area Base) (ตารางที่ 4-2)
                        ประเด็นที่ 1 การพัฒนาการเกษตรกรรม การทองเที่ยว และเชื่อมโยงการพัฒนาในระดับภูมิภาค

                  มีแนวทางการพัฒนา : (1) พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการตลาดสินคาเกษตร
                  (2) พัฒนาการทองเที่ยวใหสามารถสรางรายไดอยางยั่งยืน และ (3) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน
                  เศรษฐกิจของจังหวัด จังหวัดนชุมพรมีพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่การเกษตร 2,564,597 ไร พืชเศรษฐกิจหลัก
                  ไดแก ปาลมน้ำมัน ยางพารา ทุเรียน และมะพราว ป 2562 จังหวัดชุมพรมี GPP มูลคา 94,203 ลานบาท

                  หรือคิดเปนรอยละ 0.86 ของผลิตภัณฑรวมในประเทศ (GDP) คิดเปนรายไดตอหัวตอคนตอปเฉลี่ย
                  208,835 บาทตอคนตอป โดยโครงสรางทางเศรษฐกิจสำคัญป 2562 ประกอบดวย 3 สวนหลัก ไดแก
                  การผลิตภาคเกษตรกรรม มีสัดสวนรอยละ 48.77 คิดเปนมูลคา 45,943 ลานบาท ภาคบริการและ
                  ทองเที่ยว มีสัดสวนรอยละ 41.40 คิดเปนมูลคา 39,000 ลานบาท และภาคอุตสาหกรรม มีสัดสวนรอยละ

                  9.83 คิดเปนมูลคา 9,260 ลานบาท มีการคาดการณโครงสรางทางเศรษฐกิจในอนาคต การผลิตภาค
                  เกษตรกรรม คาดการณมีมูลคา 47,375 ลานบาท ภาคบริการและทองเที่ยว คาดการณมีมูลคา 34,632
                  ลานบาท และภาคอุตสาหกรรม คาดการณมีมูลคา 8,584 ลานบาท สำหรับยุทธศาสตรและนโยบายการ
                  พัฒนาจังหวัดชุมพร เพื่อมุงสูเปาหมายรายได 1 แสนลานบาท ตั้งเปาเพิ่มรายไดจากโครงสรางเศรษฐกิจ

                  สำคัญในภาคเกษตร ตั้งเปาหมายจะมีรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 53.24 โดยจะเพิ่มการปลูกพืชเศรษฐกิจ
                  สำคัญ โดยเฉพาะทุเรียนจะปลูกเพิ่มรอยละ 37 เพื่อใหผลผลิตเพิ่มเปน 207,723-295,000 ตันตอป
                  เพิ่มการปลูกยางพารา รอยละ 9.3 เพื่อใหผลผลิตเพิ่มเปน 117,490 ตันตอป เพิ่มการปลูกปาลมน้ำมัน

                  รอยละ 15.5 ใหผลผลิตเพิ่มเปน 2,704,712.40 ตันตอป เพิ่มการปลูกมะพราว รอยละ 13 ใหผลผลิต
                  เพิ่มเปน 146,731.6 ตันตอป เพิ่มการปลูกมังคุด รอยละ 10 ใหผลผลิตเพิ่มเปน 35,339.3 ตันตอป
                  เพิ่มการปลูกกาแฟ รอยละ 12 ใหผลผลิตเพิ่มเปน 12,517.5 ตันตอป เพิ่มการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม
                  รอยละ 30 ใหผลผลิตเพิ่มเปน 16,826.40 ตันตอป เพิ่มการเลี้ยงไกเนื้อ ไกไข รอยละ 1.5 ใหผลผลิต
                  เพิ่มเปน 2,064,624 ตัวตอป และสงเสริมการเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มขึ้น ซึ่งมีมูลคาทางเศรษฐกิจเปนอันดับ 1

                  ของจังหวัด แตที่ผานมาเกษตรกรยังประสบกับปญหาในการเพาะปลูก คือ มีตนทุนการผลิตที่สูง ผลผลิต
                  มีคุณภาพต่ำ และมีการใชเทคโนโลยีการผลิตไมคอยถูกตอง ทำใหเกษตรกรสวนใหญมีหนี้สินจากการทำ
                  การเกษตรดังนั้น จึงตองมีการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตของเกษตรกรใหสูงขึ้น ทั้งดานปริมาณ

                  ผลผลิตตอไร คุณภาพของผลผลิต และมีตนทุนการผลิตที่ลดลง และสินคาเกษตรเนื่องถึงผลิตภัณฑ
                  สินคาสุขอนามัย มีคุณภาพและไดมาตรฐานเพื่อตอบสนองตอผูบริโภค โดยมีกระบวนการผลิตตาง ๆ
                  เชนการผลิตการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (Good Agricultural Practices: GAP) สินคาเกษตรและ
                  อาหารมีคุณภาพและความ ปลอดภัย (สินคา Q) สินคาที่ปลอดภัยเกษตรอินทรียผลิตภัณฑชีวภาพและ
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167