Page 94 - Nongbualamphu
P. 94

4-22





                     ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาข้อมูลทางกายภาพด้านสมบัติดิน การศึกษาทบทวนข้อมูลเชิงเอกสาร และ

                     การส ารวจด้านเศรษฐกิจและสังคมจากการสัมภาษณ์ ซึ่งการวิเคราะห์ DPSIR แต่ละตัวแปรและ

                     ปัจจัย ได้ผลดังต่อไปนี้ (รูปที่ 4-1)
                           4.3.1 แรงขับเคลื่อน (Driving Forces: D): ต้นเหตุของการเปลี่ยนแปลง

                                1) การเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากร ท าให้ความต้องการที่ดินเพิ่มสูงขึ้น

                                2) สภาพภูมิศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพของดินและที่ดิน ปัญหาทรัพยากรดินที่
                     เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งไม่เอื้อต่อการด าเนินกิจกรรมทางการเกษตร

                           4.3.2 แรงกดดัน (Pressures: P)
                                1) สภาพปัญหาทางธรรมชาติของดินเป็นอุปสรรคต่อการเพิ่มผลผลิต ส่งผลให้เกิด

                     ข้อจ ากัดด้านรายได้และการลงทุน

                                2) การขาดเงินทุนและรายได้ในการพัฒนาปรับปรุงบ ารุงดินเพื่อเกษตรกรรม
                                3) การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเป็นไปตามสภาพซึ่งมีประสิทธิภาพต่ า ได้ผลผลิต

                     น้อยและคุณภาพต่ า ไม่สามารถผลิตเพื่อแข่งขันทางการค้าได้
                           4.3.3 สภาวะ (State: S)

                                1) เกษตรกรที่ขาดรายได้และเงินทุนจะเข้าสู่ระบบจ านองหรือขายฝากที่ดิน ที่สุ่ม

                     เสี่ยงต่อการขาดสิทธิครอบครองที่ดิน ส่วนเกษตรกรที่ไร้ที่ดินท ากินจะขาดอ านาจต่อรองเพื่อ
                     สามารถเข้าถึงสิทธิในที่ดินจะใช้แรงงานเข้าแลกกับสิทธิการท าเกษตรเพื่อยังชีพโดยโดยไม่ได้รับ

                     รายได้เป็นค่าตอบแทน

                                2)  เกษตรกรมีการเร่งผลผลิตโดยใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่สอดคล้องกับปริมาณธาตุอาหารในดิน การ
                     ใช้สารเคมีฉีดพ่นก าจัดวัชพืช และยาปราบศัตรูพืช โรค และแมลง ขาดการปรับปรุงบ ารุงดินและการ

                     จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่ถูกต้องเหมาะสม เป็นปัจจัยเร่งให้ดินเสื่อมโทรม
                                3) เกษตรกรเข้าร่วมโครงการที่สนับสนุนโดยภาคเอกชนในการรับปลูกไม้ผลในพื้นที่

                     เกษตรกร ซึ่งมีตลาดรับซื้อแน่นอน และแบ่งรายได้ตามข้อตกลงร่วมกัน

                                4) ภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความแปรปรวนของฤดูกาล เกิดวิกฤตภัย
                     แล้ง และภัยพิบัติธรรมชาติ ไฟป่า น้ าท่วม ดินถล่ม ซ้ าเติมต่อสภาพการเกษตรระดับพื้นที่

                           4.3.4 ผลกระทบ (Impacts: I)
                                1) เกษตรกรที่เข้าร่วมระบบจ านองหรือขายฝาก มีความเสี่ยงต่อการสูญเสียกรรมสิทธิ

                     ที่ดินท ากิน ตอกย้ าความยากจนซ้ าซาก

                                2) เกษตรกรไร้ที่ดินท ากินและอยู่ในสภาพใช้แรงงานเข้าแลกกับสิทธิการท าเกษตร
                     เพื่อยังชีพโดยโดยไม่ได้รับรายได้เป็นค่าตอบแทน มีแนวโน้มจะบุกรุกแผ้วถางเขตป่าเพื่อท า

                     การเกษตรโดยผิดกฎหมาย
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99