Page 92 - Nongbualamphu
P. 92

4-20





                                   (5) แผนงานที่ 5 : พัฒนากลไกและเครื่องมือสนับสนุน และความสามารถในการ

                     ด าเนินงานต่อต้านความเสื่อมโทรมของที่ดินและภัยแล้ง

                                5) ปฏิญญาว่าด้วยการป่าไม้และการใช้ที่ดินของผู้น ากลาสโกว์ (Glasgow Leaders’
                     Declaration on Forests and Land Use) เป็นข้อตกลงซึ่งเป็นผลจากการประชุมในที่ประชุมรัฐภาคี

                     อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) ณ เมืองกลาสโกว์

                     สหราชอาณาจักร มีสาระส าคัญในการสร้างความร่วมมือและมุ่งมั่นในการหยุดยั้งการตัดไม้ท าลายป่า
                     และฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมให้สมบูรณ์และส าเร็จภายในปี พ.ศ. 2573 (ค.ศ. 2030) ปฏิญญานี้มีจุดมุ่งหมาย

                     เพื่อให้เกิดการด าเนินการและการออกแบบนโยบายและแผนงานด้านการเกษตรเสียใหม่ เพื่อสร้าง
                     ความมั่นคงทางอาหาร ลดความหิวโหย และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อสิ่งแวดล้อม

                                กรอบความร่วมมือภายใต้ปฏิญญานี้ ผู้น าประเทศที่ให้การรับรอง ได้ให้ค ามั่นว่าจะ

                     เสริมสร้างความร่วมมือและความพยายามร่วมกันในการอนุรักษ์ป่าไม้และระบบนิเวศบนบกอื่นๆ
                     และเร่งการฟื้นฟู ตลอดจนอ านวยความสะดวกด้านนโยบายการค้าและการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับ

                     สากลและในประเทศ ซึ่งแสดงถึงความเป็นไปได้และให้ความมั่นใจว่าการด าเนินงานลดก๊าซเรือน
                     กระจก โดยบูรณาการความร่วมมือระหว่างภาคป่าไม้และการใช้ที่ดิน จะสามารถบรรเทาปริมาณการ

                     ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและช่วยควบคุมอุณหภูมิโลกไม่ให้สูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส ซึ่งจะ

                     สนับสนุนการด ารงชีวิตที่ยั่งยืนในที่สุด นอกจากนี้ เนื้อหาของปฏิญญายังระบุถึงการให้อ านาจแก่ชุมชน
                     ท้องถิ่น รวมถึงชนเผ่าพื้นเมือง ซึ่งมักได้รับผลกระทบในทางลบจากการแสวงประโยชน์และความเสื่อม

                     โทรมของป่า


                     4.2  การวิเคราะห์ความต้องการของพื้นที่

                           จากการประมวลข้อมูลเชิงกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจของจังหวัดหนองบัวล าภู สามารถ

                     วิเคราะห์ความต้องการของพื้นที่ใน 3 มิติ ดังนี้
                           4.2.1 มิติด้านกายภาพ พบว่า มีปัญหาทรัพยากรดินที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งส่วนใหญ่เป็น

                     ดินตื้น ลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหินในพื้นที่ดอน ความสามารถในการดูดซับหรือการซึมของน้ าลงในดินต่ า
                     และอินทรียวัตถุมีน้อย บางพื้นที่เป็นดินทรายจัด เนื้อดินมีปริมาณอนุภาคขนาดทรายเป็นส่วนประกอบ

                     อยู่สูง ความสามารถในการอุ้มน้ าการดูดซับและแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพืชต่ า ท าให้มีปัญหาความ

                     อุดมสมบูรณ์ของดินต่ าไปด้วย รวมทั้งลักษณะภูมิประเทศที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง เมื่อฝนตกหนัก
                     จะเกิดการชะล้างพังทลายของดินและธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชได้ง่าย และเสี่ยงต่อการขาด

                     แคลนน้ าหรือความชื้นในกรณีฝนทิ้งช่วง ท าให้พืชที่ปลูกมีการเจริญเติบโตไม่ดีหรืออาจตายได้

                           4.2.2 มิติด้านแรงงานและอาชีพ จ านวนประชากรมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนใหญ่ประกอบ
                     อาชีพเกษตรกรรม ซึ่งนอกจากสภาพดินและที่ดินดังกล่าวข้างต้น จะเป็นอุปสรรคต่อการด าเนิน
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97