Page 126 - Nongbualamphu
P. 126

ผ-7





                  เรียงล าดับกันไป เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยควบคุมระบบนิเวศและการใช้ประโยชน์ที่ดินในแต่ละชั้นคุณภาพ


                  ลุ่มน้ า ซึ่งแต่ละชั้นคุณภาพมีลักษณะพื้นฐานดังนี้
                    1.1)  พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 หมายถึง พื้นที่มีสภาพเป็นต้นน้ าล าธารเป็นแหล่งน้ าฝนและให้น้ ากับพื้นที่
                  ตอนล่าง พื้นที่ตอนบนมักมีความชันมาก ลักษณะดินที่ง่ายต่อการพังทลายเป็นพื้นที่ซึ่งควรรักษาไว้เพื่อ

                  เป็นต้นน้ าล าธารโดยเฉพาะ อาจจะรักษาในรูปของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ ซึ่งในส่วนของ

                  พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 ยังแยกเป็นชั้นย่อยได้อีก 2 ระดับ โดยใช้ “สภาพป่า” เป็นตัวก าหนดคือ “พื้นที่ลุ่มน้ า
                  ชั้น 1 เอ” จะมีสภาพป่าที่ยังอุดมสมบูรณ์ตามที่ปรากฏอยู่ในปี พ.ศ. 2525 และเป็นพื้นที่ที่จะต้องสงวน

                  รักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ าล าธาร และเป็นทรัพยากรป่าไม้ของประเทศ ในขณะที่“พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 บี”
                  จะมีสภาพป่าส่วนใหญ่ถูกท าลาย ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใช้ที่ดินรูปแบบอื่นก่อนหน้าปี

                  พ.ศ. 2525 และการใช้ที่ดินรูปแบบต่างๆ ที่ด าเนินการไปแล้วจะต้องมีมาตรการควบคุมเป็นพิเศษ

                    1.2)  พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2 หมายถึง พื้นที่ลุ่มน้ าที่มีสภาพเป็นพื้นที่ป่าป้องกัน ป่าเพื่อการค้าหรือป่า
                  เศรษฐกิจ ปกติเป็นพื้นที่บนที่สูง มีความลาดชันสูงมาก ดินมีประสิทธิภาพในการยึดเกาะกันสูงกว่าพื้นที่

                  ลุ่มน้ าชั้นคุณภาพที่ 1 ลักษณะทั่วไปเหมาะสมต่อการเป็นต้นน้ าล าธารในระดับรองลงมา ควรสงวนเก็บไว้เป็น
                  พื้นที่แหล่งต้นน้ าล าธาร รักษาไว้ในรูปแบบของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติและอาจสามารถ

                  อนุญาตให้ใช้ประโยชน์เพื่อท ากิจการส าคัญบางอย่างได้ เช่น การท าเหมืองแร่

                    1.3)  พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 หมายถึง สภาพลุ่มน้ าที่มีสภาพเป็นเชิงเขา ความลาดชันสูง ดินมีลักษณะ
                  การพังทลายปานกลาง พื้นที่เหมาะสมเป็นป่าเศรษฐกิจ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ปลูกไม้ผลยืนต้น พืชเกษตรยืนต้น

                  หรือการท าเหมืองแร่ แต่ต้องมีมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าควบคู่กันไปอย่างเข้มงวด

                    1.4)  พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4 หมายถึง พื้นที่ลุ่มน้ าที่มีสภาพพื้นที่เนินราบ มีความลาดชันปานกลาง สภาพป่า
                  ส่วนใหญ่ถูกแผ้วถางเพื่อใช้เป็นพื้นที่ปลูกพืชไร่ ก าหนดให้มีการปลูกพืชไร่ ไม้ผลและท าทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ได้

                  สภาพพื้นที่ค่อนข้างราบบางแห่งอาจจะมีความลาดชันแต่ค่อนข้างน้อย การพังทลายของหน้าดินค่อนข้าง
                  ควบคุมได้ง่ายโดยมีพืชคลุมดิน

                    1.5)  พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 หมายถึง สภาพพื้นที่เป็นที่ราบถึงที่ราบลุ่ม หรือบางแห่งอาจจะเป็นเนิน

                  ลาดเอียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่ป่าจะถูกบุกรุกแผ้วถางไปจนหมดแล้วแปรสภาพที่ดินเป็นพื้นที่ส าหรับท า
                  เกษตรกรรมโดยเฉพาะการท านา และกิจกรรมอื่นๆ  และไม่จ าเป็นต้องมีมาตรการป้องกันการชะล้าง

                  พังทลายของหน้าดิน

                  2) ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า

                    2.1)  ข้อก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 สามารถจ าแนกย่อยได้ 2 ชั้นคุณภาพ ได้แก่

                          1) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 เอ ซึ่งจะมีพื้นที่ทั้งป่าค่อนข้างอุดมสมบูรณ์แผ่ปกคลุมไปทั่วบริเวณ มีข้อก าหนด

                  การใช้ประโยชน์ ดังนี้
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131