Page 20 - Lamphun
P. 20

2-6





                  2.4  สภาพการใช้ที่ดิน

                        2.4.1 สภาพการใช้ที่ดินทั่วไป
                                จำกข้อมูลสภำพกำรใช้ที่ดินจังหวัดล ำพูน เมื่อน ำมำวิเครำะห์สภำพกำรใช้ที่ดิน พบว่ำ
                  มีกำรใช้ที่ดิน 5 ประเภท ได้แก่ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ป่ำไม้ พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูก

                  สร้ำง และพื้นที่น้ ำ โดยมีรำยละเอียดตำมตำรำงที่ 2-3 และรูปที่ 2-3 ซึ่งสรุปได้ดังนี้
                                1) พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 908,406 ไร่ หรือร้อยละ 32.16 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ พื้นที่นำ
                  พืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล พืชสวน ทุ่งหญ้ำเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ และสถำนที่เพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ เป็นต้น
                  ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่มีกำรใช้ประโยชน์ที่ดินในกำรปลูกไม้ผลมำกที่สุด ร้อยละ 18.00 ของเนื้อที่จังหวัด
                                2) พื้นที่ป่าไม้ มีเนื้อที่ 1,633,670 ไร่ หรือร้อยละ 58.01 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่

                  เป็นป่ำผลัดใบสมบูรณ์ ร้อยละ 53.71 ของเนื้อที่จังหวัด
                                3) พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 88,295 ไร่ หรือร้อยละ 3.14 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่
                  เป็นทุ่งหญ้ำสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมำะ ร้อยละ 2.18 ของเนื้อที่จังหวัด

                                4) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่ 148,013 ไร่ หรือร้อยละ 5.25 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหมู่บ้ำนบนพื้นรำบ ร้อยละ 3.32 ของเนื้อที่จังหวัด
                                5) พื้นที่น้ า มีเนื้อที่ 37,792 ไร่ หรือร้อยละ 1.44 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็น
                  แม่น้ ำ ล ำห้วย ล ำคลอง ร้อยละ 0.67 ของเนื้อที่จังหวัด

                                สภำพกำรใช้ที่ดินในจังหวัดล ำพูนที่ครอบคลุมพื้นที่มำกที่สุด คือ พื้นที่ป่ำไม้ รองลงมำเป็น
                  พื้นที่เกษตรกรรม ส่วนพื้นที่น้ ำมีพื้นที่น้อยที่สุด
                        2.4.2 พืชที่ส าคัญของจังหวัด
                                1) พืชสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (พืช GI) และพืชอัตลักษณ์

                                    1.1) ล ำไยเบี้ยวเขียวล ำพูน เกษตรกรในจังหวัดล ำพูนใช้พันธุ์เบี้ยวเขียวป่ำเส้ำ
                                2) พืชเศรษฐกิจหลัก
                                    2.1) ล ำไย เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดล ำพูนใช้พันธุ์ดอหรืออีดอ พันธุ์ชมพู พันธุ์เบี้ยวเขียว
                                          พันธุ์แห้ว และพันธุ์พวงทอง

                                    2.2) ข้ำวนำปี เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดล ำพูนใช้พันธุ์สันป่ำตอง 1 และพันธุ์ กข6
                                    2.3) ข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์ เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดล ำพูนใช้พันธุ์ส่งเสริม
                                    2.4) ยำงพำรำ เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดล ำพูนใช้พันธุ์ RRIM 600 และ RRIT 251

                                    2.5) มะม่วง เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดล ำพูนใช้พันธุ์เขียวมรกต จีนหงส์ และน้ ำดอกไม้
                                    2.6) กระเทียม เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดล ำพูนใช้พันธุ์พื้นเมือง
                                    2.7) หอม เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดล ำพูนใช้พันธุ์พื้นเมืองภำคเหนือ หรือหอมบั่ว
                                          และน้ ำปำด
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25