Page 12 - Lamphun
P. 12

1-2





                  ปัญหาดินเค็มส่วนหนึ่งเกิดมาจากการใช้ที่ดิน การปลูกพืช การสร้างอ่างเก็บน้ า การตัดถนน การตัดไม้

                  ท าลายป่า กิจกรรมเหล่านี้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับน้ าใต้ดิน คือ ยกระดับน้ าใต้ดินสูงขึ้นท าให้
                  สารละลายเกลือขึ้นมาบนผิวดินจึงท าให้เกิดปัญหาดินเค็มส่งผลให้ไม่สามารถปลูกพืชได้ ในบางพื้นที่
                  ปลูกพืชได้แต่ผลผลิตลดลง และรายได้ลดลง พื้นที่ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งเป็น 3 ระดับ

                  ความเค็ม คือ ระดับความเค็มน้อย ระดับความเค็มปานกลาง และระดับความเค็มมาก เนื่องจากพื้นที่ดิน
                  เค็มระดับน้อยเป็นพื้นที่ที่สามารถปลูกพืชบางชนิดได้ และเจ้าหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดินได้เผยแพร่ความรู้
                  และวิธีการในการจัดการพื้นที่ดินเค็มธรณีพิบัติภัย ได้แก่ ดินถล่ม แผ่นดินไหว หลุมยุบ และการกัดเซาะ
                  ชายฝั่งทะเล เป็นภัยธรรมชาติที่สร้างความเสียหายแก่ประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติ และเศรษฐกิจ ซึ่งมี
                  แนวโน้มรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะแผ่นดินถล่ม ซึ่งร้อยละ 21 ของพื้นที่ประเทศไทยมีความเสี่ยงต่อ

                  ดินถล่มในระดับสูงดินถล่มเกิดจากสาเหตุตามธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ โดยกิจกรรมของมนุษย์มี
                  ส่วนเร่งให้เกิดมากขึ้น เช่น การตัดไม้ท าลายป่าการปลูกพืชในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง การตั้งบ้านเรือน
                  ตามหุบเขาหรือตามทางน้ า การปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างขวางทางน้ า เป็นต้น มูลค่าความเสียหายโดยรวม

                  ด้านทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน จากปัญหาการพังทลายของหน้าดิน ปัญหาดินเค็ม และปัญหาดินถล่ม
                  พบว่า มีมูลค่าความเสียหายเท่ากับ 7,477 ล้านบาทต่อปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519 จนปัจจุบันก็ยังอ้างข้อมูล
                  ดังกล่าว ถึงแม้ว่าจากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้านดิน พบว่า กิจกรรมของมนุษย์มีส่วนท าให้ดินเค็ม
                  แพร่กระจาย เช่น การตัดไม้ท าลายป่า การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน การสร้างแหล่งน้ า เป็นต้น ดังนั้น

                  จึงเสนอให้มีการจัดท าข้อมูลดินเค็มที่สะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันทั้งที่เกิดจากกิจกรรม
                  ของมนุษย์หรือเกิดตามธรรมชาติ ส าหรับกรณีการสูญเสียธาตุอาหารที่เกิดจากการพังทลายของดิน ไม่ได้
                  พิจารณาถึงปริมาณปุ๋ยที่ใส่เข้าไปในแต่ละปี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของดินในระยะยาวที่เกิดจาก
                  วิธีการทางเขตกรรม การสูญเสียหน้าดินที่ส่งผลกระทบต่อปัญหาการตื้นเขินของแหล่งน้ า และกรณีของ

                  ภัยพิบัติดินถล่มเป็นเพียงความเสียหายของทรัพย์สิน ยังไม่ได้ค านึงถึงความเสียหายที่เกิดต่อระบบนิเวศ

                  1.2 วัตถุประสงค์
                        1.2.1 เพื่อจัดท าฐานข้อมูลด้านกายภาพเพื่อประกอบการท าแผนการใช้ที่ดินจังหวัดล าพูน

                        1.2.2 เพื่อจัดท าแผนการใช้ที่ดินจังหวัดและน าไปเป็นฐานข้อมูลในการจัดท าแผนพัฒนาด้าน
                  การเกษตรและสิ่งแวดล้อมของจังหวัด
                        1.2.3 เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดท าแผนปฏิบัติการระดับจังหวัดของหน่วยงานในสังกัด กระทรวง
                  เกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการท างานแบบบรูณาการ

                  1.3 ขอบเขตกำรด ำเนินงำน

                        1.3.1 สถานที่ด าเนินงาน จังหวัดล าพูน
                        1.3.2 ระยะเวลา เดือนตุลาคม 2564 ถึง เดือนกันยายน 2565

                  1.4 กรอบแนวคิดในกำรด ำเนินงำน

                        1.4.1 ชี้ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดล าพูน ซึ่งเป็น
                  ผลจากการพัฒนาที่จะก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในพื้นที่จังหวัดล าพูน
                        1.4.2 ก าหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธีที่จะน าไปสู่การแก้ไข โดยอาศัยระบบการวิเคราะห์
                  เชิงพรรณนา และการวิเคราะห์พื้นที่
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17