Page 11 - Lamphun
P. 11

บทที่ 1

                                                         บทน ำ




                  1.1 หลักกำรและเหตุผล

                        รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 72(1) ได้มีการบัญญัติให้มีการวางแผน
                  การใช้ที่ดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                  ต่อมาได้มีประกาศส านักนายกรัฐมนตรี เรื่องการประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ เมื่อวันที่ 6 เมษายน
                  2561 มีแผนการปฏิรูปด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งก าหนดให้มีการจัดท าแผนการใช้ที่ดิน

                  ของชาติทั้งระบบให้สอดคล้องและเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                  ของประเทศ ปรับปรุงแผนการใช้ที่ดินต าบล จ านวน 7,225 ต าบล ให้แล้วเสร็จภายในปี 2565 ตลอดจน
                  น าแผนการใช้ที่ดินต าบลไปสู่การปฏิบัติเพื่อเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และ

                  ประกาศส านักนายกรัฐมนตรี เรื่องการประกาศแผนปฏิรูปประเทศ
                        ทรัพยากรที่ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญในการด ารงชีพของมนุษย์ ประเทศไทยเป็นประเทศ
                  เกษตรกรรม ซึ่งที่ดินเป็นปัจจัยหลักการเพิ่มขึ้นของประชากร ประกอบกับความต้องการใช้ที่ดิน เพื่อใช้
                  ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจสาขาอื่นก็มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น เช่น การพัฒนาเมืองเขตอุตสาหกรรม เป็นต้น
                  ดังนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้นในการใช้ประโยชน์ที่ดิน คือ การน าพื้นที่เหมาะสมทางการเกษตรมาใช้ในการ

                  ขยายเมือง การน าพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมต่อการเกษตรมาใช้ในการเกษตร การใช้ประโยชน์จากที่ดินที่ไม่
                  ถูกต้องตามหลักวิชาการ ท าให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน ซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม
                  ต่อเกษตรกร ชุมชนและประเทศชาติ ปัญหาของทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน ได้แก่ ปัญหาความเสื่อม

                  โทรมของดินและปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน มีสาเหตุทั้งที่เกิดจากธรรมชาติ
                  และเกิดจากการใช้ที่ดินที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ตัวอย่างของปัญหา เช่น การชะล้างพังทลายของ
                  ดิน ดินขาดอินทรียวัตถุ และปัญหาที่เกิดจากสภาพธรรมชาติของดินร่วมกับการกระท าของมนุษย์ เช่น
                  ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินอินทรีย์ (พรุ) ดินทรายจัด และดินตื้น ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินทางด้าน

                  เกษตรกรรมของประเทศไทย ได้แก่ การชะล้างพังทลายของหน้าดินพื้นที่ที่มีปัญหาการชะล้างพังทลาย
                  ของดินมากที่สุดคือ ภาคเหนือ ดินขาดอินทรียวัตถุ ปัญหาดินขาดอินทรียวัตถุอยู่ในพื้นที่ภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือ ดินที่มีปัญหาต่อการใช้ประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรม ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในภาคเหนือ
                  และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนดินเค็ม ดินกรด และดินค่อนข้างเป็นทราย อยู่ในพื้นที่ภาค

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ การด าเนินการเพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรดินให้เป็นปัจจัยพื้นฐานของการพัฒนาที่
                  ยั่งยืน โดยการก าหนดแนวทางการอนุรักษ์ดินและน้ า การพัฒนาระบบข้อมูลดินการศึกษาวิจัย ท าแปลง
                  สาธิตในพื้นที่เกษตรและให้ความรู้ เผยแพร่แนวทางการจัดการทรัพยากรดินที่เหมาะสม และถ่ายทอด
                  ให้แก่เกษตรกรน าไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ทั้งนี้การด าเนินการตามมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าการฟื้นฟู

                  และอนุรักษ์ดินเพื่อการเกษตร มีการฟื้นฟูดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินขาด
                  อินทรียวัตถุ และดินชะล้างพังทลาย การประเมินการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของที่ดินนี้จะพิจารณา
                  เฉพาะปัญหาส าคัญ ได้แก่ ปัญหาการชะล้างพังทลายที่ดินท าให้สูญเสียธาตุอาหารของพืช ปัญหาดินเค็ม

                  และปัญหาดินถล่ม การประเมินการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์จากดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16