Page 81 - khonkaen
P. 81

4-3





                  พัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานและการตรวจสอบคุณภาพสินคาเกษตรอินทรีย สินคาเกษตรที่เปน

                  มิตรกับสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยของสินคาเกษตร เพื่อสรางความ
                  มั่นใจใหกับผูบริโภค ตลอดจนศึกษาความเหมาะสมในการยกระดับมาตรฐานสินคาเกษตรใหเปน
                  (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2559) มาตรการเชิงบังคับ ขยายผล

                  แนวคิดการทําการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนใหมีกระบวนการเรียนรูรวมกัน
                  และผลักดันสูกระบวนการทําเกษตรกรรมยั่งยืนอยางตอเนื่อง

                          5) นโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ (พ.ศ. 2560-
                  2579) มียุทธศาสตรและกลยุทธที่เกี่ยวของ ดังนี้
                              ยุทธศาสตรที่ 2  ดานการใชที่ดินและทรัพยากรดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด มีกลยุทธหลัก

                  ไดแก 1) การเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดินของรัฐและเอกชนใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยมุงเนน
                  การวางแผนกําหนดเปาหมาย และสัดสวนของการใชประโยชนที่ดินของประเทศ ใหมีความเหมาะสม
                  อยางเปนระบบ ตามศักยภาพของที่ดินและสมรรถนะของดิน โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ การจัดให
                  มีการวางผังเมืองในทุกระดับ โดยใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของประชาชนและบังคับใชกฎหมายที่

                  เกี่ยวของใหมีประสิทธิภาพเปนไปตามหลักการทางวิชาการ การกําหนดเขตและมาตรการใชประโยชน
                  ที่ดินทั้งในระดับประเทศ ระดับลุมน้ําและระดับจังหวัด ใหมีความสัมพันธและสอดคลองกัน การกํากับ
                  ควบคุมการถือครองที่ดินของประเทศ ใหมีการกระจายถือครองที่ดินอยางเปนธรรม ขอคืนพื้นที่ที่ไมได
                  ใชประโยชนเพื่อนํามาใชประโยชนสาธารณะ รวมทั้งปองกันการถือครองที่ดินของคนตางชาติ และนิติ

                  บุคคลตางดาว โดยมิชอบดวยกฎหมาย และการสงเสริม สนับสนุนใหมีการนําที่ดินรกรางวางเปลา หรือ
                  ไมไดใชประโยชนกลับมาใชประโยชน โดยการมีสวนรวมของชุมชนและทองถิ่น เพื่อใหเกิดมูลคาเพิ่มทาง
                  เศรษฐกิจโดยใชกลไกประชารัฐ 2) การเสริมสรางฐานการผลิตภาคเกษตรกรรมใหเขมแข็งและยั่งยืน
                  เพื่อสรางความมั่นคงทางอาหาร โดยมุงเนนการกําหนดพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) โดยการวางผังจัดรูป

                  ที่ดิน จัดระบบชลประทาน จัดสรางถนนหรือทางลําเลียงในไรนา ปรับระดับพื้นที่ บํารุงดิน วางแผนการ
                  ผลิต และจําหนายผลิตผลทางการเกษตรที่มีความเหมาะสมกับสภาพของแตละพื้นที่ การพัฒนา
                  ศักยภาพพื้นที่เกษตรกรรมในการเพิ่มปริมาณผลผลิตและลดตนทุนโดยอาศัยองคความรูทางวิชาการดาน

                  การเกษตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม เทคโนโลยีและนวัตกรรม การสงเสริม สนับสนุน การปรับเปลี่ยน
                  กระบวนการผลิตจากพืชเชิงเดี่ยว ไปสูรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเกื้อกูลกับ
                  ระบบนิเวศและสอดคลองกับการอนุรักษดินและน้ํา การฟนฟู ปรับปรุง คุณภาพดินที่เสื่อมโทรม ขาด
                  ความอุดมสมบูรณและแกไขปญหาการชะลางพังทลายของดินเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยในการทํา
                  การเกษตร และเสริมสรางความมั่นคงทางอาหาร การคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพและขยาย

                  โอกาสในการเขาถึงพื้นที่ทํากินของเกษตรกรใหมากขึ้น เพื่อใหเปนฐานการผลิตการเกษตรที่ยั่งยืน และ
                  การสรางกลไกการปองกันและแกไขปญหาการสูญเสียสิทธิในที่ดินเกษตรกรรม เพื่อรักษาฐานการผลิต
                  ภาคเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน และ 3) การเตรียมความพรอมในการปรับตัวดานการใชประโยชนที่ดิน

                  และทรัพยากรดินตอผลกระทบและภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พื้นที่ที่ไดรับความ
                  เสี่ยงจากการเกิดภัยธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น โดยมุงเนนการคาดการณ และประเมินผลกระทบที่
                  อาจจะเกิดขึ้นในที่ดินหรือทรัพยากรดินจากการเปลี่ยนแปลสภาพภูมิอากาศ หรือภัยธรรมชาติและการ
                  กําหนดแนวทางในการรับมือ ปองกัน แกไขปญหา กําหนดมาตรการชวยเหลือที่เหมาะสม ในพื้นที่ที่




                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86