Page 80 - khonkaen
P. 80

4-2





                              ประเด็นยอยที่ 2.2 สงเสริมการใชประโยชนที่ดินใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมาย

                  คือ 1) พื้นที่ทางการเกษตรมีการใชประโยชนที่ดินที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีการขยายพื้นที่เขต
                  เกษตรอินทรียอยางเปนรูปธรรม  2) พื้นที่การเกษตรในพื้นที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน
                  มีการใชประโยชนที่ดินอยางเหมาะสมและไมเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

                          4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มียุทธศาสตรและ
                  แนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวของ ดังนี้

                              ยุทธศาสตรที่ 3 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน โดยมุงเนนการ
                  เสริมสรางและพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของภาคการผลิตและบริการ ซึ่งมีแนวทางการ
                  พัฒนาหลักที่เกี่ยวของ ไดแก การพัฒนาภาคการเกษตร ดวยการ 1) เสริมสรางฐานการผลิตภาคเกษตร

                  ใหเขมแข็งและยั่งยืน โดยพัฒนาและบํารุงรักษาแหลงน้ําเพื่อการเกษตรรวมทั้งจัดระบบการปลูกพืชให
                  สอดคลองปริมาณน้ําที่หาได และคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพและขยายโอกาสในการเขาถึง
                  พื้นที่ทํากินของเกษตรกรใหมากขึ้น 2) สรางและถายทอดองคความรูทางวิชาการ วิทยาศาสตร
                  เทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมิปญญาทองถิ่นดานการเกษตรแบบมีสวนรวม โดยใหความสําคัญกับการ

                  พัฒนารูปแบบและกระบวนการถายทอดความรูเพื่อปรับระบบการผลิตที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ
                  การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศใหแกเกษตรกรอยางเปนรูปธรรม อาทิ การจัดทําแปลงตนแบบ
                  ผานศูนยเรียนรูและศูนยถายทอดเทคโนโลยีในแตละพื้นที่ 3) เสริมสรางขีดความสามารถการผลิตใน
                  หวงโซอุตสาหกรรมเกษตร โดยสงเสริมใหเกษตรกรผลิตพืช ปศุสัตว และการทําประมงใหสอดคลองกับ

                  ศักยภาพพื้นที่และความตองการของตลาด (Zoning) 4) สงเสริมและเรงขยายผลแนวคิดการทํา
                  การเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุงเนนการสงเสริมใหเกษตรกรมีสวนรวมในการ
                  กําหนดนโยบายการเกษตรยั่งยืน ทั้งในรูปแบบเกษตรทฤษฎีใหม เกษตรผสมผสาน วนเกษตร เกษตร
                  อินทรีย เกษตรธรรมชาติ ควบคุมการใชสารเคมีการเกษตรที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และสิ่งแวดลอม

                  อยางเครงครัด และ 5) พัฒนาปจจัยสนับสนุนในการบริการจัดการภาคเกษตรและสนับสนุนเกษตรกร
                  รุนใหม โดยการพัฒนาฐานขอมูลดานอุปสงคและอุปทานดานการเกษตร สรางบุคลากรดานการเกษตร
                  ดวยการผลิตเกษตรกรรุนใหมหรือดําเนินนโยบายบัณฑิตคืนถิ่น การจัดทําหลักสูตรการศึกษาที่เนนการ

                  เรียนรูจากภาคปฏิบัติเพื่อสรางเกษตรกรที่มีความรูและมีความสามารถในการยกระดับการผลิต แปรรูป
                  การตลาดและการบริหารจัดการที่สามารถปรับตัวไดทันตามการเปลี่ยนแปลงของโลก และการปรับปรุง
                  กฎหมายที่เกี่ยวของกับการเกษตรใหทันสมัย
                              ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน มุงเนนการ
                  สงเสริมการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยเนนการบริหารจัดการทรัพยากรอยางมี

                  ประสิทธิภาพและยั่งยืน ภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชแนวคิดตลอดวัฏจักรชีวิต ซึ่งมีแนว
                  ทางการพัฒนาหลัก คือ การสนับสนุนการผลิตภาคการเกษตรไปสูเกษตรกรรมที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนการ
                  ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตจากพืชเชิงเดี่ยวไปสูเกษตรกรรมยั่งยืน อาทิ เกษตรธรรมชาติ เกษตร

                  ผสมผสาน เกษตรอินทรีย วนเกษตร และเกษตรทฤษฎีใหม สนับสนุนการพัฒนาปุยอินทรีย การใชวัสดุ
                  อินทรียและการใชผลิตภัณฑชีวภาพทดแทนการใชสารเคมีการเกษตร สนับสนุนงานวิจัยและจัดทําพื้นที่
                  ตนแบบ เพื่อสาธิตการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จัดใหมีแหลงทุนและ
                  กลไกทางการตลาด เพื่อสรางแรงจูงใจในการปรับรูปแบบการทําการเกษตรใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม




                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85