Page 13 - khonkaen
P. 13

1-3






                      1.2.4 เพื่อสงเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรดินและโครงสรางพื้นฐานทางการเกษตร อยางมี

                  ประสิทธิภาพ รวมถึงการปรับตัวภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                      1.2.5 เพื่อสงเสริมความสามารถของเกษตรกร เครือขายดานการพัฒนาดิน และสถาบัน
                  เกษตรกร ในการยกระดับและเพิ่มมูลคาของสินคาเกษตร

                  1.3  ขอบเขตการดําเนินงาน

                      สถานที่ดําเนินงาน จังหวัดขอนแกน
                      ระยะเวลา เดือนตุลาคม 2564 ถึง เดือนกันยายน 2565
                  1.4  กรอบแนวคิดในการดําเนินงาน

                      1.4.1 ชี้ประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่จังหวัดขอนแกน
                  ซึ่งเปนผลจากการพัฒนาที่จะกอใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในพื้นที่จังหวัดขอนแกน
                      1.4.2 กําหนดหลักเกณฑ แนวทาง และวิธีที่จะนําไปสูการแกไข โดยอาศัยระบบการวิเคราะห

                  เชิงพรรณนา และการวิเคราะหพื้นที่
                      1.4.3 และรวบรวมขอมูลดานทรัพยากรตาง ๆ คือ ดิน ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ น้ํา ปาไม พืชพรรณ
                  ทั้งดานสภาพการใชประโยชนที่ดิน ดานเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในภาพรวมและเฉพาะดาน ตลอดจน
                  นโยบายของรัฐที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งมีทั้งขอมูลทุติยภูมิ

                  จากหนวยงาน เอกสาร ผลงานวิจัยตาง ๆ และขอมูลปฐมภูมิซึ่งไดจากการเก็บรวบรวมวัตถุประสงค
                  ที่ตองการ
                      1.4.4  การนําเขาขอมูล นําเขาขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) เชน แผนที่ดิน แผนที่สภาพการใชที่ดิน
                  แผนที่การพัฒนาแหลงน้ําผิวดิน แผนที่ขอบเขตปาไมตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี ทําการเก็บขอมูล

                  ในรูป Digital data โดยใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตรและขอมูลเชิงบรรยาย (Non spatial data)
                  เชน ขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม และขอมูลตัวเลขอื่น ๆ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
                      1.4.5 การวิเคราะห

                          1) การวิเคราะหขอมูลทั่วไป เปนการวิเคราะหในดานขอเท็จจริง ปญหาและการแกไข
                  และสถานการณในปจจุบันของขอมูลแตละดานที่กลาวมาแลว เพื่อเปนขอมูลเบื้องตนที่จะนํามาใช
                  ประกอบการพิจารณา กําหนดทิศทางการพัฒนาดานการเกษตรไดอยางถูกตองและเหมาะสมในอนาคต
                          2) การวิเคราะหขอมูลเฉพาะดานตาง ๆ คือ
                            (1) การวิเคราะหเพื่อจัดทําหนวยที่ดินโดยใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

                  ในการซอนทับขอมูลแผนที่ตาง ๆ และตารางคุณภาพที่ดินของหนวยที่ดิน
                            (2) การประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดิน ใชสมการการสูญเสียดินสากล
                  (RUSLE) ที่ปรับปรุงแกไขจากสมการการสูญเสียดินสากล (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545) ในการคํานวณ

                            (3) การวิเคราะหขอมูลภูมิอากาศเพื่อหาปริมาณการระเหยและการคายน้ําอางอิง
                  ปริมาณน้ําฝนที่เปนประโยชนและชวงระยะเวลาปลูกพืช
                            (4) การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ ใชคูมือการประเมินคุณภาพที่ดิน สําหรับ
                  พืชเศรษฐกิจ (บัณฑิต และคํารณ, 2542) เปนการประเมินคุณภาพที่ดินโดยทําการเปรียบเทียบความ

                  ตองการประเภทการใชที่ดิน (Landuse Requirements) กับคุณภาพที่ดินของหนวยที่ดิน (Land
                  qualities) และจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินออกเปน 4 ชั้น ดังนี้



                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18