Page 12 - khonkaen
P. 12

1-2






                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปญหาดินเค็มสวนหนึ่งเกิดมาจากการใชที่ดิน การปลูกพืช การสรางอางเก็บน้ํา

                  การตัดถนน การตัดไมทําลายปา กิจกรรมเหลานี้มีผลตอการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําใตดิน คือ ยกระดับน้ํา
                  ใตดินสูงขึ้นทําใหละลายเกลือซึ่งอยูตามธรรมชาติใตดินขึ้นมาบนผิวดินจึงทําใหเกิดปญหาดินเค็ม สงผลให
                  ไมสามารถปลูกพืชได ในบางพื้นที่ปลูกพืชไดแตผลผลิตลดลง และรายไดลดลง หากดินเค็มระดับนอย

                  เปนพื้นที่ที่สามารถปลูกพืชบางชนิดได และเจาหนาที่ของกรมพัฒนาที่ดินไดเผยแพรความรูและวิธีการใน
                  การจัดการพื้นที่ดินเค็ม ธรณีพิบัติภัย ไดแก ดินถลม แผนดินไหว หลุมยุบ และการกัดเซาะชายฝงทะเล
                  เปนภัยธรรมชาติที่สรางความเสียหายแกประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติ และเศรษฐกิจ ซึ่งมีแนวโนม
                  รุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะแผนดินถลม ซึ่งรอยละ 21 ของพื้นที่ประเทศไทย มีความเสี่ยงตอดินถลมใน
                  ระดับสูง ดินถลมเกิดจากสาเหตุตามธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย โดยกิจกรรมของมนุษยมีสวนเรงให

                  เกิดมากขึ้น เชน การตัดไมทําลายปาการปลูกพืชในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง การตั้งบานเรือนตามหุบเขา
                  หรือตามทางน้ํา การปลูกสรางสิ่งกอสรางขวางทางน้ํา เปนตน มูลคาความเสียหายโดยรวมดาน
                  ทรัพยากรดินและการใชที่ดิน จากปญหาการพังทลายของหนาดิน ปญหาดินเค็ม และปญหาดินถลม

                  พบวา มีมูลคาความเสียหายเทากับ 7,477 ลานบาทตอป ตั้งแต ป พ.ศ. 2519 จนปจจุบัน ก็ยังอาง
                  ขอมูลดังกลาว ถึงแมวาจากการสอบถามผูเชี่ยวชาญดานดิน พบวา กิจกรรมของมนุษยมีสวนทําใหดิน
                  เค็มแพรกระจาย เชน การตัดไมทําลายปา การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน การสรางแหลงน้ํา เปนตน
                  ดังนั้น จึงเสนอใหมีการจัดทําขอมูลดินเค็มที่สะทอนใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในปจจุบันทั้งที่เกิดจาก

                  กิจกรรมของมนุษยหรือเกิดตามธรรมชาติ สําหรับกรณีการสูญเสียธาตุอาหารที่เกิดจากการพังทลายของ
                  ดิน ไมไดพิจารณาถึงปริมาณปุยที่ใสเขาไปในแตละป การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของดินในระยะยาวที่เกิด
                  จากวิธีการทางเขตกรรม การสูญเสียหนาดินที่สงผลกระทบตอปญหาการตื้นเขินของแหลงน้ํา และกรณี
                  ของภัยพิบัติดินถลมเปนเพียงความเสียหายของทรัพยสิน ยังไมไดคํานึงถึงความเสียหายที่เกิดตอระบบ

                  นิเวศ
                        แผนการใชที่ดินระดับจังหวัด เปนโครงการที่จัดทําขึ้นเพื่อตอบสนองนโยบายของประเทศตรง
                  ตามภารกิจกรมฯ และสอดคลองกับแผนการปฏิรูปประเทศ ซึ่งการจัดทําแผนการใชที่ดินระดับจังหวัด
                  ดังกลาว ไดจากการจัดทําฐานขอมูล เพื่อวิเคราะหความเหมาะสมทางกายภาพ สังคม

                  และเศรษฐกิจระดับจังหวัด โดยวิเคราะหรวมกับนโยบายที่เกี่ยวของ ไดแก แนวทางพัฒนาดานเกษตร
                  ของประเทศ หลักการพัฒนาพื้นที่ของกลุมจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน และแผนพัฒนาทองถิ่นที่
                  เกี่ยวของ รวมกับการวิเคราะหรวมกับสภาพแวดลอมดานเกษตรของจังหวัดขอนแกน (SWOT

                  Analysis) เพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ และจัดทําขอเสนอแนะแนวทาง
                  การพัฒนาพื้นที่อยางเปนระบบ เกิดผลในทางปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพและเปนรูปธรรม

                  1.2  วัตถุประสงค
                      1.2.1 เพื่อจัดทําฐานขอมูลแผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน

                      1.2.2  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรดิน โดยการสํารวจ จําแนกดิน วิเคราะหดิน
                  และวางแผนการใชที่ดินใหเกิดความสมดุลและยั่งยืน
                      1.2.3 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน โดยพัฒนางานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม
                  ดานการพัฒนาที่ดินสําหรับใชประโยชน ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร






                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17