Page 77 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 77

3-21





                            ชา

                              ชั นความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                              พบว่ามีข้อจ ากัดด้านปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (p) ปริมาณโพแทสเซียมที่
                  แลกเปลี่ยนได้ (k) ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (c) ความอิ่มตัวด้วยด่าง (b) และปฏิกิริยาดิน (a)

                            ชั นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความลาดชัน (g) และความลึก
                  ของดิน (d)


                  3.4   การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการเกษตรจังหวัดเชียงราย (SWOT analysis)

                        ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้วิเคราะห์ศักยภาพแวดล้อมด้านการเกษตรมี

                  รายละเอียด ดังนี้

                        1. การวิเคราะห์ศักยภาพแวดล้อมภายในที่เกี่ยวข้องของจังหวัดเชียงราย

                          1.1  จุดแข็ง (Strengths : S)
                              1) ท าเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เหมาะแก่การเป็นจุดศูนย์กลางเชื่อมโยงกับประเทศ ใน

                  อนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขงตอนบน (GMS) เอื้อต่อการสร้างความร่วมมือการผลิตและการค้าสินค้าเกษตรกับ
                  ประเทศเพื่อนบ้าน

                              2) มีพื้นที่การเกษตรที่เอื้อต่อการเป็นแหล่งผลิตอาหารและสินค้าเกษตรที่ส าคัญของ
                  ภาคเหนือ ทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง
                              3) มีพืชเลพาะถิ่นที่มีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากล เช่น ข้าวหอมมะลิ ข้าวเหนียว

                  เขี้ยวงู ชา กาแฟ สับปะรดภูแล/นางแล ส้มโอเวียงแก่น
                              4) มีความพร้อมด้านวิชาการ มีสถาบันการศึกษา และบุคลากรภาครัฐที่มีศักยภาพ

                  พร้อมที่จะสนับสนุนและพัฒนาการเกษตรที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจของจังหวัด เช่น มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า
                  หลวง ศูนย์บริการวิชาการภาครัฐต่างๆ

                              5) มีศูนย์เรียนรู้ ปราชญ์ชาวบ้าน Smart Farmer และ Young Smart Farmer ที่เป็น
                  ต้นแบบองค์ความรู้ต่างๆ ในการท าการเกษตรแก่เกษตรกร

                              6) มีแหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตรเชิงนิเวศที่หลากหลาย
                              7) มีคณะอนุกรรมการ /คณะกรรมการ/ คณะท างานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน
                  ประชารัฐ เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด

                              8) มีแผนพัฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัดที่ชัดเจน และผู้บริหารของจังหวัดให้ความส าคัญ
                  กับการพัฒนาภาคการเกษตร
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82