Page 80 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 80

3-24






                  ตารางที่ 3-7  การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการเกษตรจังหวัดเชียงราย (SWOT analysis)

                               จุดแข็ง (Strengths : S)                   จุดอ่อน (Weakness : W)
                   1) ท าเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เหมาะแก่การเป็นจุดศูนย์กลาง  1) จังหวัดที่มีชลประทานรองรับเพียงประมาณ ร้อยละ 16 ของ
                     เชื่อมโยงกับประเทศ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขงตอนบน (GMS)   พื้นที่การเกษตร ส่วนใหญ่ขาดแคลนน้ าในฤดูแล้ง
                     เอื้อต่อการสร้างความร่วมมือการผลิตและการค้าสินค้าเกษตร  2) ทรัพยากรดินเสื่อมโทรมจากการใช้ประโยชน์ที่ดินมาเป็นระยะ
                     กับประเทศเพื่อนบ้าน                       เวลานาน ขาดการปรับปรุงบ ารุงดินที่เหมาะสม การใช้ที่ดินผิด
                   2) มีพื้นที่การเกษตรที่เอื้อต่อการเป็นแหล่งผลิตอาหารและสินค้า  ประเภทไม่เหมาะสมกับสมรรถนะของดินและปัญหาการชะ
                     เกษตรที่ส าคัญของภาคเหนือ ทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง   ล้างพังทลายของดินอันเนื่องมาจากการใช้ที่ดินไม่ถูกวิธี
                   3) มีพืชเลพาะถิ่นที่มีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากล เช่น ข้าว  3) เกษตรกรยังขาดการน าข้อมูลและองค์ความรู้ในการบริหารขัด
                     หอมมะลิ ข้าวเหนียวเขี้ยวงู ชา กาแฟ สับปะรดภูแล/นางแล   การ การผลิต การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว และการตลาด
                     ส้มโอเวียงแก่น                            ส่งผลให้สินค้าเกษตรไม่มีคุณภาพและประสบปัญหาล้นตลาด
                                                              4) เกษตรกรมีการใช้สารเคมีในการผลิตสินค้าเกษตรค่อนข้างสูง
                   4) มีความพร้อมด้านวิชาการ มีสถาบันการศึกษา และบุคลากร  5) ต้นทุนการผลิตสูง
                     ภาครัฐที่มีศักยภาพ พร้อมที่จะสนับสนุนและพัฒนาการเกษตร  6) สินค้าเกษตรขาดการพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าและ
                     ที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจของจังหวัด เช่น มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า  การตลาด
                     หลวง ศูนย์บริการวิชาการภาครัฐต่างๆ       7) เกษตรกรมีการรวมกลุ่มเพื่อการวางแผนการผลิตและ
                   5) มีศูนย์เรียนรู้ ปราชญ์ชาวบ้าน Smart Farmer และ Young   การตลาดร่วมกันน้อยและไม่เข้มแข็งท าให้ขาดอ านาจต่อรอง
                     Smart Farmer ที่เป็นต้นแบบองค์ความรู้ต่างๆ ในการท า  8) ประชาชนภาคการเกษตร มีรายได้เลลี่ยต่อคนต่ ากว่ารายได้
                     การเกษตรแก่เกษตรกร                        เลลี่ยของประชากรทั้งจังหวัด
                   6) มีแหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตรเชิงนิเวศที่หลากหลาย   9) เกษตรกรบางส่วนยังขาดเอกสารสิทธิ์และที่ดินท ากิน
                   7) มีคณะอนุกรรมการ /คณะกรรมการ/ คณะท างานต่างๆ ทั้ง  10) ขาดผู้สืบทอดอาชีพทางการเกษตรและขาดแคลนแรงงาน
                     ภาครัฐ เอกชน ประชารัฐ เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงานด้าน  ภาคเกษตร
                     การเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด
                    8) มีแผนพัฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัดที่ชัดเจน และผู้บริหารของ
                        จังหวัดให้ความส าคัญกับการพัฒนาภาคการเกษตร
                   1) รัฐบาลได้สนับสนุนการพัฒนาเชิงพื้นที่รองรับเขตพัฒนา  1) ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายรัฐบาล
                     เศรษฐกิจพิเศษ                            2) ความผันผวนของราคาผลผลิตทางการเกษตรท าให้ไม่สามารถ
                   2) นโยบายของรัฐในการสนับสนุนให้น้อมน าหลักปรัชญา  ปรับเปลี่ยน การผลิตภาคการเกษตรไปสู่เกษตรเชิงพาณิชย์ได้
                     เศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวปฏิบัติในการพัฒนาแบบบูรณา  ครบวงจร
                     การ และนโยบายประชารัฐ                    3) กฎระเบียบทางการค้า การขนส่ง ทั้งคน รถบรรทุก และสินค้า
                   3) นโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนทั้งการผลิตและการตลาด เช่น   ของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขงตอนบน (GMS) ยังไม่เป็น
                     วิสาหกิจชุมชน OTOP Food Safety ให้ภาคการเกษตรมี  มาตรฐานเดียวกัน มีมาตรการกีดกันทางการค้า ทั้งทางภาษี
                     ความมั่นคง และมีรายได้เพิ่มขึ้น           และมิใช่ภาษี รวมถึงการเก็บค่าธรรมเนียมการผ่านแดนที่ไม่
                   4) กระแสความต้องการดูแลและรักษาสุขภาพท าให้ประชาชน  เป็นมาตรฐานเดียวกัน
                     โลกหันมาสนใจและบริโภคพืชผักสมุนไพร และเนื้อสัตว์  4) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยทางธรรมชาติ เช่น
                     ปลอดภัย รวมทั้งอาหารเชิงคุณภาพมากขึ้น     ภัยแล้ง อุทกภัย ดินถล่ม ภัยหนาว หมอกควัน ไฟป่า มีส่วนท า
                   5) นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลที่ต้องการเร่งรัดการ  ให้พืชผลทางการเกษตรไม่เป็นไปตามฤดูกาล รวมถึงมีความ
                     สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร               เสี่ยงจากแผ่นดินไหว
                   6) การพัฒนาระบบราชการท าให้มีการกระจายอ านาจการ  5) การก าหนดมาตรฐานคุณภาพสินค้าเกษตรและอาหารของ
                     ตัดสินใจและเกิดการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน   ประเทศคู่ค้าในตลาดการค้าโลกเป็นอุปสรรคต่อประเทศก าลัง
                   7) เป็นพื้นที่ในแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ตามกรอบความ  พัฒนาอย่างยิ่ง โดยเลพาะการด้อยเทคโนโลยีการควบคุม
                     ร่วมมือ GMS                               คุณภาพ ซึ่งส่วนใหญ่ต้องน าเข้าจากประเทศพัฒนาแล้ว ท าให้
                                                               เสียเปรียบด้านต้นทุน
                                                              6) การเป็นพื้นที่ชายแดน ท าให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาโรค
                                                               ระบาด ศัตรูพืช ทั้งด้านพืช ปศุสัตว์การน าเข้าสินค้าการเกษตร
                                                               บางชนิด โดยเลพาะพืชผัก ผลไม้จากประเทศเพื่อนบ้าน ท าให้
                                                               เกิดปัญหาด้านการแข่งขันและราคาผลผลิต
                  ที่มา: ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงราย (2560)
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85