Page 73 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 73

3-17





                        1.3  ภูมิอากาศ

                              การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูก จากการวิเคราะห์สถานการณ์สมดุลของน้ า เพื่อ
                  การเกษตรด้วยข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ าฝนเลลี่ยรายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยน้ าเลลี่ยราย
                  เดือน (Evapotranspiration : ETo) ซึ่งค านวณโดยใช้โปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0

                  โดยพิจารณาจากช่วงระยะที่น้ าฝนอยู่ที่เหนือระดับเส้น 0.5 ของค่าศักยภาพการคายระเหยน้ า (0.5
                  ETo) เป็นหลัก (รูปที่ 3-6) พบว่า เพื่อหาช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชของจังหวัดเชียงราย
                  สามารถสรุปได้ดังนี้
                              1) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูก จะอยู่ในช่วงปลายเดือนมีนาคมถึงปลาย
                  เดือนตุลาคม เนื่องจากดินมีความชื้นเพียงพอส าหรับการปลูกพืช

                              2) ช่วงระยะเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกพืช แบ่งออกเป็นช่วงขาดน้ า เนื่องจากมี
                  ปริมาณน้ าฝนน้อยไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งจะอยู่ในช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงปลาย
                  เดือนมีนาคม ในช่วงเวลาดังกล่าวถ้ามีน้ าชลประทานช่วยก็สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ และช่วงน้ ามาก

                  เกินพอ ซึ่งจะอยู่ในช่วงกลางเดือนเมษายนถึงต้นเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนมากบริเวณที่ลุ่ม
                  หรือบริเวณริมฝั่งแม่น้ า อาจเกิดน้ าท่วมส่งผลเสียหายกับผลผลิตได้






































                  รูปที่ 3-6  กราฟสมดุลของน  าเพื่อการเกษตรจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2532 - 2561
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78