Page 71 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดเชียงราย
P. 71

3-15




                            3) คุณภาพน  าใต้ดิน

                              ในการศึกษาคุณภาพน้ าใต้ดินของจังหวัดเชียงราย พิจารณาจากปริมาณ
                  ของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ า ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากเล็กมาก (Tds) มีหน่วยเป็น
                  มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากนี้พิจารณาควบคู่กับอัตราการให้น้ า (Yield) มีหน่วยเป็นลูกบาศก์ก็เมตรต่อ
                  ชั่วโมง ซึ่งรายละเอียดดังตารางที่ 3-5

                              จากการศึกษาพบว่า อัตราการให้น้ าระหว่าง 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และ
                  ปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตรมีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมา
                  เป็น อัตราการให้น้ ามากกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ใน

                  น้ าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล าดับ

                  ตารางที่ 3-5  คุณภาพและอัตราการให้น  าของน  าใต้ดินในจังหวัดเชียงราย

                                    ค าอธิบาย                         เนื อที่ (ไร่)      ร้อยละ
                   Yield <2, Tds <500                                         2,805,314         38.43

                   Yield <2, Tds 500-1,500                                        22,821          0.31
                   Yield 10-20, Tds <500                                         568,037          7.78
                   Yield 10-20, Tds >1,500                                          8,279         0.11
                   Yield 10-20, Tds 500-1,500                                       6,368         0.09
                   Yield 2-10, Tds <500                                       3,747,282         51.34
                   Yield 2-10, Tds 500-1,500                                     131,751          1.81
                   Yield 5-10, Tds >1,500                                           9,042         0.12

                   แหล่งน้ า                                                            87      0.01
                                  ผลรวมทั งหมด                                7,298,981       100.00
                  หมายเหตุ : Tds   คือ ปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า (มิลลิกรัมต่อลิตร)
                                 Yield คือ อัตราการให้น้ า มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
                  ที่มา: กรมทรัพยากรน้ าบาดาล (2557)

                            4) ศักยภาพการพัฒนาน  าใต้ดิน

                                จากข้อมูลคุณภาพน้ าบาดาล พบว่าในเบื้องต้นบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนา
                  น้ าใต้ดินด้วยวิธีการขุดเจาะบ่อบาดาล คือบริเวณที่มีอัตราการให้น้ ามากกว่า 20 ลูกบาศก์เมตรต่อ
                  ชั่วโมง และมีค่าปริมาตรของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อ มีรายละเอียด

                  ดังรูปที่ 3-5
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76