Page 99 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 99

3-76





                                            (2.1.1.3) การตลาดยางพารา

                                                    วิถีตลาด มีรูปแบบเปนตลาดของผูซื้อ เนื่องจากผูซื้อมีจํานวน
                  นอยราย ขณะที่ผูขายมีจํานวนมาก เกษตรกรขายในรูปแบบยางแผนดิบ รอยละ 69 ยางกอนถวย

                  รอยละ 17 และน้ํายางสด รอยละ 13 ใหกับผูรับซื้อหรือพอคาคนกลางในทองถิ่น จากนั้นพอคาคนกลาง
                  จะนํายางไปขายใหกับตลาดกลางยางพารา หรือโรงงานแปรรูปในพื้นที่ หรือเกษตรบางรายที่นําไปขาย

                  ใหกับตลาดกลางหรือโรงงานรับซื้อไดโดยตรง (รูปที่ 3 - 4)
                                                    บัญชีสมดุลยางพาราจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2560 ผลผลิต

                  ยางพาราทั้งหมด 707,161 ตัน เปนผลผลิตภายในจังหวัดสุราษฎรธานี 628,574 ตัน หรือรอยละ 88.89
                  มาจากจังหวัดอื่น 78,587 ตัน หรือรอยละ 11.11 โดยสวนมากเขามาในชวงเดือนธันวาคมถึงเดือน
                  มกราคม ซึ่งเปนชวงผลผลิตออกสูตลาดจํานวนมาก ความตองการยางพาราในจังหวัด 567,916 ตัน เปน

                  ความตองการของโรงงานแปรรูปยางพารา 523,916 ตัน แบงเปนแปรรูปเปนยางแผนรมควัน 257,767
                  ตัน หรือรอยละ 49.20 ของปริมาณความตองการยางทั้งหมด ยางแทง 210,090  หรือรอยละ 36.99

                  ของปริมาณความตองการยางทั้งหมด น้ํายางขน 48,724 ตัน และอื่นๆ 7,335 ตัน เมื่อพิจารณาขอมูล
                  จะเห็นวาอุปสงคนอยกวาอุปทาน ผลผลิตมากกวาความตองการ 139,245 ตันหรือรอยละ 19.69 ของ

                  ผลผลิตยางพาราทั้งหมดของจังหวัด (ตารางที่ 3 - 26)
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104