Page 78 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 78

4-20





                  4.4   การวิเคราะห์เพื่อจัดท าแผนการใช้ที่ดิน


                        การวิเคราะห์เพื่อจัดท าเขตการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม พิจารณาเงื่อนไขในการก าหนดเขต
                  ดังนี้
                        1. เขตพื้นที่ป่า

                           เขตพื้นที่ป่ามีสภาพเป็นป่าไม้ซึ่งอยู่ในพื้นที่ป่าที่มีการประกาศเขตตามกฎหมายและพื้นที่ป่า
                  ตามมติคณะรัฐมนตรี รวมถึงพื้นที่ป่าที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 2 เขต ได้แก่
                  เขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ และเขตพื้นที่คงสภาพป่าไม้นอกเขตป่าตามกฎหมาย โดยพิจารณารายละเอียดการ

                  ก าหนดเขต ดังนี้
                           1.1 เขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ เป็นเขตที่อยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน สามารถแบ่งเขตย่อยได้ 3 เขต
                  ได้แก่
                                1) เขตคุ้มครองป่า เป็นพื้นที่ป่าชายเลนที่มีสภาพเป็นป่าสมบูรณ์
                                2) เขตฟื้นฟูสภาพป่า 1 เป็นพื้นที่ป่าชายเลนที่มีสภาพเป็นป่ารอสภาพฟื้นฟู

                                3) เขตฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เงื่อนไข 1 เป็นพื้นที่ป่าชายเลนที่มีสภาพเป็น
                  พื้นที่เกษตรกรรม
                           1.2 เขตพื้นที่คงสภาพป่าไม้นอกเขตป่าตามกฎหมาย เป็นพื้นที่ป่าชายเลนสมบูรณ์ และ

                  ป่าชายเลนรอสภาพฟื้นฟู
                        2. เขตเกษตรกรรม
                           2.1 เขตเกษตรกรรมชั้นดี เป็นพื้นที่ในเขตชลประทาน และมีระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                  และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ส าหรับการปลูกพืช

                                 1) เขตท านา พื้นที่ชลประทานที่เป็นพื้นที่นาข้าวและนาร้าง ที่มีระดับความเหมาะสม
                  สูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                                 2) เขตปลูกไม้ผล พื้นที่ชลประทานที่เป็นพื้นที่ปลูกไม้ผล เช่น มะพร้าว ส้มโอ ลิ้นจี่
                  มะม่วง กล้วย และมะนาว ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                                 3) เขตปลูกไม้ยืนต้น พื้นที่ชลประทานที่เป็นพื้นที่ปลูกไม้ยืนต้น เช่น สนประดิพัทธ์
                  และปาล์มน้ ามัน ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                           2.2 เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตสูง เป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน และมีระดับ
                  ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ส าหรับการปลูกพืช

                                 1) เขตท านา พื้นที่นอกเขตชลประทานที่เป็นพื้นที่นาข้าวและนาร้าง ที่มีระดับความ
                  เหมาะสมสูง(S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                                 2) เขตปลูกไม้ผล พื้นที่นอกเขตชลประทานที่เป็นพื้นที่ปลูกไม้ผล เช่น ลิ้นจี่ ส้มโอ

                  มะขามเทศ และมะพร้าว ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                                 3) เขตปลูกไม้ยืนต้น พื้นที่นอกเขตชลประทานที่เป็นพื้นที่ปลูกไม้ยืนต้น เช่น หมาก
                  และสนประดิพัทธ์ ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                           2.3 เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่ า เป็นพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย
                  (S3) และพื้นที่ไม่มีความเหมาะสม (N) ส าหรับการปลูกพืช
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83