Page 92 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 92

3-24






                            2) การชะล้างพังทลายของดิน

                              การประเมินการชะล้างพังทลายของดินมีหลายวิธีด้วยกันในการประเมินการสูาเสียดิน
                  สมการการสูาเสียดินสากล นับว่าเป็นเครื่องมือทางเทคนิคที่มีค่าและเป็นประโยชน์มากส าหรับนัก
                  อนุรักษ์ทั่วไป เมื่อน าไปใช้คาดคะเนปริมา์การสูาเสียดิน ซึ่งกรมพัฒนาที่ดิน (2545) ได้ศึกษาการ

                  สูาเสียดินในประเทศไทย โดยใช้สมการการสูาเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation: USLE)
                  ของ Wischmeier & Smith ปี ค.ศ. 1978 มีรูปสมการ ดังนี้
                                  A = R K L S C P
                                  เมื่อ  A เป็นค่าการสูาเสียดินต่อหน่วยพื้นที่
                                      R เป็นค่าที่รวมทั้งปัจจัยของน้ าฝนและการไหลบ่า (rainfall and runoff

                  erosivity factor: R-factor)
                                      K เป็นค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (Soil
                  erodibility factor: K-factor)

                                      LS เป็นค่าปัจจัยความลาดชันของพื้นที่ (Slope length and slope
                  steepness factors: LS-factor)
                                      C เป็นค่าปัจจัยการจัดการพืช (Crop management factor: C-factor)
                                      P เป็นค่าปัจจัยการปฏิบัติป้องกันการชะล้างพังทลาย (Conservation

                  practice: P-factor)
                              ในการประเมินค่าปัจจัยทั้ง 6 ปัจจัย เป็นการประเมินตามคู่มือการประเมินการสูาเสียดิน
                  ในประเทศไทย โดยใช้ฐานข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ ซึ่งค่าปัจจัยที่ใช้ในการสมการได้จาก
                  ข้อมูลทรัพยากรดิน ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ข้อมูลสถิติน้ าฝน และข้อมูลแผนที่ธร์ีวิทยา โดยท าการ

                  ประเมินการชะล้างพังทลายของดินในจังหวัดลพบุรี เมื่อได้ค่าการสูาเสียดินต่อหน่วยพื้นที่น าผลที่ได้มา
                  จ าแนกชั้นความรุนแรงของการสูาเสียดิน ตามคู่มือการประเมินการสูาเสียดินในประเทศไทยที่กรม
                  พัฒนาที่ดินได้ศึกษาค่าแต่ละปัจจัยต่าง ๆ และจ าแนกระดับชั้นความรุนแรงของการสูาเสียดินไว้เป็น
                  5 ระดับ ดังตารางที่ 3-7


                  ตารางที่ 3-7 ความรุนแรงการสูญเสียดิน 5 ระดับ

                         ชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน              อัตราการสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ปี)
                   น้อย                                                          0-2

                   ปานกลาง                                                       2-5
                   รุนแรง                                                        5-15

                   รุนแรงมาก                                                    15-20
                   รุนแรงมากที่สุด                                            มากกว่า 20

                  ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2545)
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97