Page 89 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 89

3-21






                                1.2)  ทรัพยากรดินที่มีปัญหาทางการเกษตร ทรัพยากรดินในพื้นที่จังหวัดลพบุรี

                  สามารถจ าแนกดินมีปัาหาทางการเกษตรได้เป็นดินปัาหาที่เกิดตามสภาพธรรมชาติ หมายถึง ดินปัาหา
                  ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติอันเนื่องมาจากปัจจัยที่ให้ก าเนิดดิน ซึ่งประกอบด้วย วัตถุต้นก าเนิดดิน สภาพ
                  พื้นที่ สภาพภูมิอากาศ พืชพรร์ที่ขึ้นปกคลุม และระยะเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งจังหวัดลพบุรีพบดินที่มีปัาหา

                  เฉพาะทางการเกษตรดังตารางที่ 3-6 และรูปที่ 3-7 สามารถสรุปได้ดังนี้
                                    1.2.1) ดินตื้น มีเนื้อที่รวม 680,288 ไร่ หรือร้อยละ 17.55 ของพื้นที่ ดินตื้น
                  เป็นดินที่พบชั้นลูกรัง ชั้นกรวด ชั้นหินหรือเศษหินปะปนอยู่ในเนื้อดินเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 35 โดย
                  ปริมาตร หรือชั้นหินพื้นอยู่ตื้นกว่า 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ท าให้เป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช
                  และการไถพรวน ส่งผลให้พืชไม่สามารถเจริาเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตต่ า ความสามารถในการดูดซับน้ า

                  และธาตุอาหารต่ า เนื้อดินเหนียวมีน้อยท าให้การเกาะยึดตัวของเม็ดดินไม่ดี เกิดการชะล้างพังทลายได้
                  ง่าย ดินตื้นในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ประกอบด้วย
                                        - ดินตื้นในพื้นที่ลุ่ม มีการระบายน้ าเลว มีเนื้อที่ 20,589 ไร่ หรือ

                  ร้อยละ 0.53

                                        - ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหิน มีเนื้อที่
                  123,393 ไร่ หรือร้อยละ 3.18

                                        - ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นหินพื้น มีเนื้อที่ 162,043 ไร่ หรือร้อยละ
                  4.18 ของพื้นที่

                                        - ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นมาร์ลหรือก้อนปูน มีเนื้อที่ 219,259 ไร่
                  หรือร้อยละ 5.66 ของพื้นที่

                                        - ดินที่มีหินโผล่ มีเนื้อที่ 155,004 ไร่ หรือร้อยละ 4.00 ของพื้นที่
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94