Page 86 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 86

3-18






                        3.1.3 ทรัพยากรดิน

                            1) สถานภาพทรัพยากรดิน
                              1.1)  ทรัพยากรดินในพื้นที่จังหวัด ทรัพยากรดินในพื้นที่จังหวัดลพบุรี (รูปที่ 3-6)
                  ประกอบด้วย ดินในพื้นที่ราบลุ่มหรือพื้นที่น้ าขัง ดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง และดินที่มีความลาด

                  ชันสูง ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ (รายละเอียดคุ์สมบัติของดินแสดงในตารางภาคผนวกที่ 2
                                  1.1.1) ดินในพื้นที่ราบลุ่มหรือพื้นที่น้ าขัง พบตั้งแต่พื้นที่ราบน้ าทะเลเคยท่วมถึง
                  ที่ราบลุ่มน้ าท่วมถึงตะพักล าน้ าจนถึงพื้นที่ราบระหว่างเนินเขาและหุบเขา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
                  ค่อนข้างราบเรียบ ในช่วงฤดูฝนมีน้ าแช่ขังแฉะมีระดับน้ าใต้ดินอยู่ใกล้ผิวดิน การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึง
                  เลว ดินมีสีเทาหรือสีเทาอ่อน จุดประสีตลอดหน้าตัดดิน ที่บ่งบอกถึงการมีน้ าแช่ขังในหน้าตัดดิน

                  ปฏิกิริยาดินส่วนใหา่เป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง ความอุดมสมบูร์์ปานกลาง สามารถ
                  จ าแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 3 กลุ่ม ดังนี้

                                      - กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินเหนียว ดินร่วนเหนียว ดิน
                  ร่วนเหนียวปนทรายแป้งหรือดินร่วนปนทรายแป้ง ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียว หรือดินเหนียวปน

                  ทรายแป้ง บางบริเว์อาจได้รับอิทธิพลของหินปูนหรือหินอัคนี ท าให้มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวจัด ได้แก่
                  ชุดดินบ้านหมี่ (Bm) ชุดดินบ้านโภชน์ (Bpo) ชุดดินช่องแค (Ck) ชุดดินโคกกระเทียม (Kk) ชุดดิน
                  วัฒนา (Wa) ชุดดินชัยนาท (Cn) ชุดดินสิงห์บุรี (Sin) ชุดดินสระโบสถ์ (Sab) และชุดดินบ้านกลาง (Bag)

                                      - กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย หรือดินร่วน
                  ปนทรายแป้ง ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ได้แก่

                  ชุดดินโคกส าโรง (Ksr) และชุดดินสรรพยา (Sa)

                                      - กลุ่มดินที่เป็นดินตื้น มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ส่วนดินล่างเป็นดิน
                  เหนียว มีกรวดหรือลูกรังปะปนปริมา์เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 35 โดยปริมาตร ภายในความลึก 50
                  เซนติเมตรจากผิวดิน ได้แก่ ดินคล้ายชุดดินบ้านกลางที่เป็นดินเหนียวปนชิ้นส่วนหยาบ (Bag-csk)

                                  1.1.2) ดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินชื้น ดินมีช่วงแห้งติดต่อกันน้อยกว่า

                  45 วัน หรือดินแห้งรวมกันน้อยกว่า 90 วันในรอบปี มีสภาพพื้นที่มีตั้งแต่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ
                  ถึงเนินเขา มีระดับน้ าใต้ดินอยู่ลึกกว่า 2 เมตร การระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีสีเทา สีน้ าตาล
                  สีเหลือง สีแดง อาจพบจุดประสีเล็กน้อย ปฏิกิริยาดินมีตั้งแต่เป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง มีความอุดมสมบูร์์ต่ า
                  ถึงสูง ซึ่งขึ้นกับกระบวนการทางดินและชนิดของวัตถุต้นก าเนิดดิน โดยจ าแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่าง
                  กว้างๆ ได้ 3 กลุ่ม ดังนี้


                                      - กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วน
                  เหนียวปนทรายแป้ง หรือดินเหนียว ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียว ดินเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินร่วน
                  เหนียว อาจพบชั้นปูนมาร์ลในระดับลึก 80 เซนติเมตรลงไป ปฏิกิริยาดินเป็นด่างปานกลางถึงเป็นด่างจัด
                  (pH 8.0-9.0) ในฤดูแล้งจะแตกระแหงเป็นร่องกว้างกว่า 1 เซนติเมตรหรือมากกว่า ที่ความลึก 50
                  เซนติเมตร หรืออาจพบก้อนเหล็กและแมงกานีสสะสมในดินล่าง ได้แก่ ชุดดินลพบุรี (Lb) ชุดดินดงลาน

                  (Dl) ชุดดินปากช่อง (Pc) ชุดดินล าสนธิ (Ls) ชุดดินกลางดง (Kld) ชุดดินชัยบาดาล (Cd) ชุดดิน
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91