Page 95 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 95

3-27






                  3.2  สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม


                        3.2.1 สถานการณ์คุณภาพแหล่งน้้า
                            จังหวัดลพบุรี มีระบบคลองชลประทานเพื่อประโยชน์ทางเกษตรกรรม ซึ่งการระบายน้ า
                  เสียที่ยังไม่ได้รับการบ าบัดจากชุมชนเมือง ชุมชนที่อาศัยริมน้ า การท่องเที่ยว รีสอร์ทหรือโรงแรม และ
                  พื้นที่เกษตรกรรม ที่ส าคัาได้แก่ พืชไร่ นาข้าว และสวนผลไม้ ล้วนส่งผลต่อคุ์ภาพน้ าในแหล่งน้ า

                                  1
                  ดังกล่าว ดังต่อไปนี้
                            1) แม่น้ าป่าสัก ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) จุดตรวจวัดที่ไม่เป็นไปตาม
                                                             2
                  มาตรฐานคุ์ภาพน้ าในแหล่งน้ าผิวดินประเภทที่ 3  โดยเฉพาะช่วงไหลผ่านบริเว์อ าเภอชัยบาดาล
                  และอ าเภอพัฒนานิคม อ าเภอจังหวัดลพบุรี
                            2) แม่น้ าลพบุรี ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) จุดตรวจวัดที่ไม่เป็นไปตาม
                  มาตรฐานคุ์ภาพน้ าในแหล่งน้ าผิวดินประเภทที่ 3 โดยเฉพาะช่วงไหลผ่านอ าเภอท่าวุ้ง และอ าเภอเมือง
                  จังหวัดลพบุรี

                             จากการติดตามตรวจสอบคุ์ภาพน้ าในแหล่งน้ าส าคัาทั่วประเทศ 59 แหล่งน้ าสายหลัก
                  และ 6 แหล่งน้ านิ่ง ในพื้นที่ 64 จังหวัด โดยใช้ดัชนีคุ์ภาพน้ าในแหล่งน้ าผิวดิน (Water Quality
                  Index: WQI) พบว่าจังหวัดลพบุรีมีคุ์ภาพน้ าอยู่ในเก์ฑ์ดี มีดัชนีคุ์ภาพน้ า WQI ในระดับ 62 (แม่
                  น้ าป่าสัก WQI ระดับ 67 และแม่น้ าลพบุรี WQI ระดับ 57) โดยค่าดัชนีคุ์ภาพน้ า แม่น้ าลพบุรี จัดอยู่

                  ในคุ์ภาพแหล่งน้ าประเภทที่ 3 ค่าพารามิเตอร์แสดงคุ์ภาพน้ า บริเว์ที่มีปัาหาคุ์ภาพน้ า ดังนี้
                                                                                3
                            - ค่าออกซิเจนละลายน้ า (DO) อ าเภอท่าวุ้ง ช่วงเดือนสิงหาคม
                                                                                                  4
                            - ค่าความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) อ าเภอท่าวุ้ง ช่วงเดือนมกราคม มิถุนายน
                            - ค่าแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (TCB) อ าเภอท่าวุ้ง ช่วงเดือนมิถุนายน
                                                                                           5
                                                                                          6
                            - ค่าแบคทีเรียกลุ่มฟิคอลโคลิฟอร์ม (FCB) อ าเภอท่าวุ้ง ช่วงเดือนมิถุนายน
                        3.2.2 สถานการณ์ไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19)
                            ไวรัสสายพันธุ์ใหม่ โคโรน่า 2019 (COVID-19) เริ่มปรากฏมีการแพร่ระบาดและ

                  ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2562 ส าหรับประเทศไทย
                  มาตรการล็อคดาวน์ (Lockdown) ส่งผลต่อการหยุดยั้งการจ้างงานในพื้นที่ ทั้งภาคบริการ ท่องเที่ยว
                  และการค้า ท าให้ประเทศสูาเสียรายได้จากธุรกิจและอุตสาหกรรมท่องเที่ยว กว่า 5 แสนล้านบาท อีก
                  ทั้งภาคการผลิตที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว ซึ่งมีมูลค่าไม่ต่ ากว่า 8 แสนล้านบาท ส่งผลให้มูลค่าเพิ่มของ
                  อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ลดลงไม่ต่ ากว่า 1.3 ล้านล้านบาท รวมทั้ง ผลกระทบจากการเลิกจ้างงาน

                  อีกกว่า 1 ล้านคน ทั้งนี้ จังหวัดลพบุรี ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า 2019 ต่อ




                  1  รายงานสถานการ์์มลพิษของประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ (2563)
                  2  มาตรฐานคุ์ภาพน้ าในแหล่งน้ าผิวดินแบ่งแหล่งน้ าผิวดินออกเป็น 5 ประเภท คือ แหล่งน้ าประเภทที่ 1 เพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศและ
                  การขยายพันธุ์ตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต แหล่งน้ าประเภทที่ 2 เพื่อการอนุรักษ์สัตว์น้ า การประมง ว่ายน้ า และกีฬาทางน้ า แหล่งน้ า
                  ประเภทที่ 3 เพื่อการเกษตร แหล่งน้ าประเภทที่ 4 เพื่อการอุตสาหกรรม และแหล่งน้ าประเภทที่ 5 เพื่อการคมนาคม
                  3  บริเว์ที่มีค่า DO ต่ าสุด
                  4  บริเว์ที่มีค่า BOD สูงสุด
                  5  บริเว์ที่มีค่า TCB สูงสุด
                  6  บริเว์ที่มีค่า FCB สูงสุด
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100