Page 78 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 78

3-10






                                  2.2.7)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินชุดพระวิหาร มีเนื้อที่ประมา์ 918 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                  0.02 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินทรายและหินกรวดมนบางส่วน น้ าบาดาลที่ได้จะอยู่ในรอย
                  แตกของหินและรอยต่อระหว่างชั้นหิน มีปริมา์น้ าเฉลี่ย น้อยกว่า 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ที่
                  ความลึกประมา์ 10-30 เมตร

                                  2.2.8)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินชุดเสาขัว มีเนื้อที่ประมา์ 243,620 ไร่ คิดเป็น
                  ร้อยละ 6.29 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยชั้นน้ าบาดาลตามรอยแตกของหินดินดาน มีปริมา์น้ า
                  ประมา์ 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ที่ระดับความลึกประมา์ 20-40 เมตร
                                  2.2.9)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินบะซอลต์ มีเนื้อที่ประมา์ 470,855 ไร่ คิดเป็น
                  ร้อยละ 12.15 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินโอลิวินบะซอลต์ น้ าบาดาลจะถูกกักเก็บอยู่ภายในรอย

                  แตก รอยแยก หรือรอยเลื่อน และช่องว่างภายใน ปริมา์น้ าที่ได้ส่วนใหา่อยู่ในช่วงน้อยกว่า 2 ลูกบาศก์
                  เมตรต่อชั่วโมง จนถึง 10-20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ความลึกถึงชั้นน้ าบาดาลอยู่ในช่วง 18-33 เมตร
                                  2.2.10)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินภูเขาไฟ มีเนื้อที่ประมา์ 778,787 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                  20.10 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินไรโอไลต์ หินแอนดีไซต์ หินทัฟฟ์ และหินกรวดมนภูเขาไฟ
                  น้ าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ตามรอยแตก รอยเลื่อน และบริเว์ชั้นหินผุ ความลึกของชั้นน้ าบาดาลอยู่
                  ในช่วง 30-80 เมตร โดยมีอัตราการให้น้ าไม่เกิน 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
                            3) คุณภาพน้้าใต้ดิน

                                  ในการศึกษาคุ์ภาพน้ าใต้ดินของจังหวัดลพบุรี พิจาร์าจากปริมา์ของแข็งที่
                  ละลายเจือปนอยู่ในน้ า ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากเล็กมาก (Tds) มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร
                  นอกจากนี้พิจาร์าควบคู่กับอัตราการให้น้ า (Yield) มีหน่วยเป็นลูกบาศก์ก็เมตรต่อชั่วโมง โดยมี
                  รายละเอียดดังตารางที่ 3-4

                                  จากการศึกษา พบว่า อัตราการให้น้ าน้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และ
                  ปริมา์ของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตรมีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมาเป็น
                  อัตราการให้น้ ามากกว่า 20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมา์ของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าน้อย
                  กว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล าดับ

                            4) ศักยภาพการพัฒนาน้้าใต้ดิน
                                  จากข้อมูลคุ์ภาพน้ าบาดาล พบว่า ในเบื้องต้นบริเว์ที่มีศักยภาพในการ
                  พัฒนาน้ าใต้ดินด้วยวิธีการขุดเจาะบ่อบาดาล คือ บริเว์ที่มีอัตราการให้น้ ามากกว่า 20 ลูกบาศก์เมตร

                  ต่อชั่วโมง และมีค่าปริมาตรของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยมี
                  รายละเอียดดังรูปที่ 3-5
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83