Page 77 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 77

3-9






                  ประกอบหิน น้ าบาดาลคุ์ภาพดี โดยมีอัตราการให้น้ าไม่เกิน 10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง แต่ถ้าพบ

                  รอยแตกในระดับลึกอาจจะได้น้ าบาดาลถึง 50 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
                                  2.2.2)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินคาร์บอเนตอายุไทรแอสซิก มีเนื้อที่ประมา์
                  29,050 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.75 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินปูนเนื้อแน่น สีเทา มีกระเปาะหิน

                  เชิร์ทสีด าแทรกสลับด้วยหินดินดาน พบเห็นได้เป็นแนวเขายาว ตามขอบแอ่ง และพบกระจายตัวในที่
                  ราบ แสดงลักษ์ะของโพรงหิน ถ้ า ที่เป็นรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน และน้ าซับจากหินปูนหมวดนี้
                  หลายแห่ง ความลึกของชั้นน้ าบาดาลอยู่ในช่วง 20-30 เมตร โดยมีอัตราการให้น้ าไม่เกิน 5 ลูกบาศก์
                  เมตรต่อชั่วโมง คุ์ภาพน้ าดีแต่มีความกระด้างสูง
                                  2.2.3)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินคาร์บอเนตอายุเพอร์เมียน มีเนื้อที่ประมา์

                  722,281 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.64 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินปูนสีเทา และหินปูนเนื้อโดโล
                  ไมต์ บางแห่งมีกระเปาะของหินเชิร์ต น้ าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ภายใน รอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน
                  ถ้ า และโพรง โดยมีอัตราการให้น้ าไม่เกิน 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ความลึกของชั้นน้ าบาดาลอยู่

                  ในช่วง 30-60 เมตร
                                  2.2.4)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินชั้นกึ่งแปรอายุเพอร์เมียน คาร์บอนิเฟอรัส มีเนื้อ
                  ที่ประมา์ 516,749 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.34 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินไรโอไลต์ หินแอนดี
                  ไซต์ หินเถ้าธุลีภูเขาไฟ หินกรวดมนภูเขาไฟ หินกรวดมน หินทราย หินดินดาน หินชนวน หินเชิร์ต

                  หินปูนเนื้อแน่นถึงหินปูนตกผลึกใหม่สีเทาอ่อน ถึงเทาอมชมพู หินกรวด และหินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ
                  หินฟิลไลต์สีเทาถึงสีเทาอมม่วง หินทราย และหินทรายแป้ง สีน้ าตาลของหมวดหินแม่ทาและหมวด
                  หินแก่งกระจาน พบปรากฏเป็นแนวภูเขาลักษ์ะของน้ าบาดาล พบในบริเว์รอยแตก รอยแยก
                  และส่วนที่ผุพังของหิน โดยมีอัตราการให้น้ าประมา์ 2-5 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ความลึกของชั้น

                  น้ าบาดาลไม่เกิน 40 เมตร
                                  2.2.5)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินชุดโคราชตอนกลาง มีเนื้อที่ประมา์ 72,243 ไร่
                  คิดเป็นร้อยละ 1.86 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินทราย และหินกรวดมนของชุดภูพาน ที่วางตัว
                  อยู่ด้านบน ส่วนล่างจะเป็นหินทรายแข็ง บางส่วนมีหินดินดาน และหินกรวดมน ของชุดพระวิหาร

                  ส าหรับช่วงกลางจะเป็นหินดินดาน หินทรายแป้ง ของชุดเสาขัว แทรกอยู่น้ าบาดาล จะพบสะสมใน
                  บริเว์ที่เป็นรอยแตก รอยแยก และรอยต่อระหว่างชั้นหิน หรือบริเว์ที่เป็นหินผุ ซึ่งมีลักษ์ะภูมิ
                  ประเทศเป็นเนินหรือแนวสันเขา ในพื้นที่ที่เป็นเนินมักจะมีน้ าซึมน้ าซับปรากให้เห็นความลึกเฉลี่ยของ

                  ชั้นที่จะพัฒนาน้ าบาดาลในหินชุดนี้ประมา์ 20-60 เมตร โดยมีอัตราการให้น้ าไม่เกิน 2 ลูกบาศก์
                  เมตรต่อชั่วโมง และบางพื้นที่จะมีอัตราการให้น้ าประมา์ 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง คุ์ภาพน้ าดี
                                  2.2.6)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินชุดโคราชตอนล่าง มีเนื้อที่ประมา์ 123,853 ไร่
                  คิดเป็นร้อยละ 3.20 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินดินดาน หินทรายแป้ง หินทราย และหินกรวด
                  มนปนเม็ดปูนของชุดภูกระดึง ถัดลงไปจะเป็นหินดินดาน สลับกับหินโคลน หินปูน ของชุดห้วยหิน

                  ลาด และใต้สุดจะเป็นหินปูนแทรกสลับด้วยหินดินดานของชุดราชบุรี โดยทั่ว ๆ ไปในหินชุดนี้ น้ า
                  บาดาลจะมีปริมา์มากกว่าชุดอื่น ๆ โดยเฉพาะหินชุดภูกระดึงน้ าบาดาลจะพบกักเก็บในบริเว์ที่
                  เป็นโพรงรอยแตก รอยแยก หรือรอยต่อระหว่างชั้นหินที่ระดับความลึกประมา์ 20-50 เมตร

                  ปริมา์จะอยู่ในเก์ฑ์เฉลี่ยปานกลางถึงค่อนข้างมาก คุ์ภาพน้ าโดยทั่วจะจืด
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82