Page 76 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 76

3-8






                            2) น้้าใต้ดิน

                              น้ าใต้ดินในหัวข้อนี้จะพิจาร์าเฉพาะน้ าบาดาลซึ่งเกิดจากน้ าบางส่วนที่เหลือจากการกัก
                  เก็บที่ผิวดิน ไหลซึมลงไปใต้ดินไปถูกกักเก็บไว้ทั้งในดินและในหิน ชั้นดินหรือหินส่วนนี้ไม่มีน้ าอยู่เต็มทุก
                  ช่องว่าง หินส่วนล่างซึ่งอยู่ใต้ระดับน้ าใต้ดินลงไป และมีน้ าบรรจุอยู่เต็มทุกช่องว่าง เรียกว่า โซนอิ่มตัวด้วยน้ า

                  ซึ่งถือเป็นแหล่งน้ าบาดาล หินที่เป็นแหล่งน้ าบาดาลนี้เรียกรวม ๆ กันว่า หินอุ้มน้ า (เจริา, 2540)
                              จากข้อมูลของกรมทรัพยากรน้ าบาดาล (2554) พบว่า พื้นที่จังหวัดลพบุรี พบชั้นหินอุ้ม
                  น้ า จ านวน 15 ประเภท (รูปที่ 3-4) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
                              2.1)  แหล่งน้้าใต้ดินในหินร่วน
                                  2.1.1)  ชั้นหินอุ้มน้้าตะกอนตะพักน้้า มีเนื้อที่ประมา์ 1,187 ไร่ คิดเป็น

                  ร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยกรวด ทราย ดินเหนียวของชุดตะกอนลุ่มน้ า โดยบาง
                  พื้นที่ที่เป็นที่เนินจะเป็นกรวด ทราย ศิลาแลงของตะกอนตะพักลุ่มน้ า น้ าบาดาลจะพบในรอยแตก
                  ของหินแข็งหรือในช่องว่างระหว่างเม็ดของกรวดและทราย ให้น้ าปริมา์ 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อ

                  ชั่วโมง
                                  2.1.2)   ชั้นหินอุ้มน้้าตะกอนตะพักน้้ายุคเก่า มีเนื้อที่ประมา์ 378,525 ไร่
                  คิดเป็นร้อยละ 9.77 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยกรวด ทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว โดยน้ า
                  บาดาลจะกักเก็บอยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดกรวด ทรายที่สะสมตัวอยู่ในที่ราบลุ่มน้ าหลากบริเว์แนวคด

                  โค้งของทางน้ า และบริเว์ที่ราบชายฝั่งทะเล บางแห่งพบต่อเนื่องกับทรายชายหาด โดยมีอัตราการให้
                  น้ าประมา์ 10-20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ความลึกของชั้นน้ าบาดาลอยู่ในช่วง 20-60 เมตร คุ์ภาพ
                  น้ าบาดาลส่วนใหา่เป็นน้ าจืดคุ์ภาพดี
                                  2.1.3)   ชั้นหินอุ้มน้้าตะกอนตะพักน้้ายุคใหม่ มีเนื้อที่ประมา์ 462,321

                  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.93 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งสะสมของตะกอนลาน
                  ตะพักที่สะสมตัวกัน ยุคหลังไพลสโตซีนประกอบด้วยตะกอนของทราย เป็นส่วนใหา่สลับด้วยตะกอน
                  ดินเหนียว ในอัตราส่วนน้อยกว่าภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม แต่เป็นแหล่งท าการเกษตรได้ยาก เพราะ
                  เป็นดินทรายโดยส่วนใหา่ มีระดับความสูง 70-80 เมตร

                                  2.1.4)  ชั้นหินอุ้มน้้าตะกอนน้้าพา มีเนื้อที่ประมา์ 9,985 ไร่ คิดเป็นร้อย
                  ละ 0.26 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยกรวด ทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว ที่สะสมตัวอยู่ในที่ราบ
                  ลุ่มน้ าหลากและบริเว์แนวคดโค้งของทางน้ า ความลึกของชั้นน้ าบาดาลอยู่ในช่วง 15-20 เมตร โดย

                  มีอัตราการให้น้ าประมา์ 5-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
                                  2.1.5)   ชั้นหินอุ้มน้้าตะกอนเศษหินเชิงเขา มีเนื้อที่ประมา์ 12,773 ไร่
                  คิดเป็นร้อยละ 0.33 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยกรวด ทราย เศษหิน ในดินเหนียว ไม่มีการคัด
                  ขนาดของกรวด ทราย น้ าใต้ดินถูกกักเก็บอยู่ตามช่องว่างระหว่างเม็ดกรวด ทราย และเศษหิน ที่
                  สะสมตัวอยู่ตามที่ราบเชิงเขา ความลึกของชั้นน้ าใต้ดิน โดยเฉลี่ยอยู่ในช่วง 10-40 เมตร

                              2.2)  แหล่งน้้าใต้ดินในหินแข็ง
                                  2.2.1)  ชั้นหินอุ้มน้้าหินแกรนิต มีเนื้อที่ประมา์ 51,698 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                  1.33 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยหินแกรนิต ตั้งแต่ยุคคาร์บอนิเฟอรัส จูแรสซิก และครีเทเซียส มี

                  น้ าบาดาลในรอยแตก รอยแยกของหินหรือในบริเว์ที่หินผุ จะเก็บน้ าบาดาลในช่องว่างของเม็ดแร่
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81