Page 35 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดลพบุรี
P. 35

2-17





                        2.6.2 การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินทั่วไป
                            การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ระหว่างปี 2553 และปี 2563

                  เกษตรกรในพื้นที่ส่วนใหญ่เปลี่ยนไปปลูกมันส าปะหลัง ข้าวโพด และทานตะวัน เพิ่มมากขึ้นอาจ
                  เนื่องจากเป็นพืชเศรษฐกิจที่ตลาดต้องการ ในขณะที่อ้อยมีพื้นที่ปลูกลดลงอย่างมาก อาจเนื่องจาก

                  ราคาผลผลิตที่ตกต่ า (ตารางที่ 2-3)
                            1) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง เพิ่มขึ้นจาก 241,575 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น
                  300,402 ไร่ ในปี พ.ศ. 2563 มีจ านวนเพิ่มขึ้น 58,827 ไร่ หรือร้อยละ 1.52 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วน
                  ใหญ่เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกอ้อย นาข้าว พื้นที่เบ็ดเตล็ด และข้าวโพด ตามล าดับ
                            2) พื้นที่เกษตรกรรม ลดลงจาก 2,716,602 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 2,705,394 ไร่

                  ในปี พ.ศ. 2563 มีจ านวนลดลง 11,401 ไร่ หรือร้อยละ 0.29 ของเนื้อที่เดิม มีการเปลี่ยนแปลงของ
                  พื้นที่ปลูกพืชส าคัญ ๆ ดังนี้
                              2.1) นาข้าว ลดลงมาจาก 902,669 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 834,664 ไร่ ในปี

                  พ.ศ. 2563 มีจ านวนลดลง 68,005 ไร่ หรือร้อยละ 1.76 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วนใหญ่เปลี่ยนไปเป็น
                  พื้นที่ปลูกอ้อย มันส าปะหลัง และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ตามล าดับ
                              2.2) ข้าวโพด เพิ่มขึ้นจาก 126,015 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 175,443 ไร่ ในปี
                  พ.ศ. 2563 มีจ านวนเพิ่มขึ้น 49,428 ไร่ หรือร้อยละ 1.28 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลง

                  มาจากพื้นที่ปลูกอ้อย มันส าปะหลัง และป่าไม้ ตามล าดับ
                              2.3) อ้อย ลดลงมาจาก 1,189,848 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 1,045,966 ไร่ ในปี
                  พ.ศ. 2563 มีจ านวนลดลง 143,882 ไร่ หรือร้อยละ 3.71 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วนใหญ่เปลี่ยนไปเป็น
                  พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง ข้าวโพด และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ตามล าดับ

                              2.4) มันส าปะหลัง เพิ่มขึ้นจาก 272,924 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 457,173 ไร่ ใน
                  ปี พ.ศ. 2563 มีจ านวนเพิ่มขึ้น 184,249 ไร่ หรือร้อยละ 4.76 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วนใหญ่
                  เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกอ้อย ป่าไม้ และข้าวโพด ตามล าดับ
                              2.5) ทานตะวัน เพิ่มขึ้นจาก 237 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 6,534 ไร่ ในปี พ.ศ.

                  2563 มีจ านวนเพิ่มขึ้น 6,297 ไร่ หรือร้อยละ 0.16 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงมาจาก
                  พื้นที่ปลูกอ้อย ไม้ผลผสม และข้าวโพด ตามล าดับ
                              2.6) ไม้ยืนต้นผสม ลดลงมาจาก 31,266 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 20,180 ไร่ ในปี

                  พ.ศ. 2563 มีจ านวนลดลง 11,086 ไร่ หรือร้อยละ 0.29 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วนใหญ่เปลี่ยนไปเป็น
                  พื้นที่ปลูกอ้อย มันส าปะหลัง และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ตามล าดับ ตามล าดับ
                              2.7) ยูคาลิปตัส ลดลงมาจาก 25,634 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 23,053 ไร่ ในปี
                  พ.ศ. 2563 มีจ านวนลดลง 2,581 ไร่ หรือร้อยละ 0.07 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วนใหญ่เปลี่ยนไปเป็น
                  พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง อ้อย และไม้ยืนต้นอื่น ๆ ตามล าดับ

                              2.8) ไม้ผลผสม ลดลงมาจาก 27,043 ไร่ ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 23,364 ไร่ ในปี
                  พ.ศ. 2563 มีจ านวนลดลง 3,679 ไร่ หรือร้อยละ 0.09 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งส่วนใหญ่เปลี่ยนไปเป็น
                  พื้นที่ปลูกอ้อย พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และมันส าปะหลัง ตามล าดับ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40