Page 32 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 32

2-10






                                                                                         ปริมาณน้ําฝน
                         มม.
                                                                                         การระเหยและคายน้ํา
                       300
                                                                                         0.5 การระเหยและคายน้ํา
                       250


                       200

                       150

                       100

                       50

                        0                                                                      เดือน
                                                         ิ
                            ม.ค.  ก.พ.  ม.ค.  เม.ย.  พ.ค.  ม.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.
                                        ี
                                                            ชวงน้ํามากพอ
                               ชวงขาดน้ํา                  ชวงเพาะปลูกพืช           ชวงขาดน้ํา


                  รูปที่ 2 - 5 สมดุลของน้ำเพื่อการเกษตร จังหวัดกาฬสินธุ ป 2541 - 2565

                                     ่
                  2.6  สภาพการใชทีดิน
                        2.6.1 สภาพการใชที่ดินทั่วไป

                            จากขอมูลสภาพการใชที่ดินจังหวัดกาฬสินธุเมื่อนำมาวิเคราะหสภาพการใชที่ดินพบวา ม ี
                  การใชที่ดิน 5 ประเภท ไดแก พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง และ

                  พื้นที่น้ำ โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 2-2 และรูปที่ 2-6 ซึ่งสรุปไดดังนี้
                            1) พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 3,139,766 ไร หรือรอยละ 72.35 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก  

                  เกษตรผสมผสาน/ไรนาผสมผสาน พื้นที่นา พืชไร ไมยืนตน ไมผล พืชสวน/พืชผัก ทุงหญาเลี้ยงสัตวและ
                                                      ้
                                                ี
                                                ่
                  โรงเรือนเลี้ยงสัตว พืชน้ำ และสถานทเพาะเลียงสัตวน้ำ เปนตน ซึ่งพื้นที่สวนใหญมีการใชประโยชนในการทำ
                  นาขาวมากที่สุด รอยละ 34.41 ของเนื้อที่จังหวัด รองลงมาเปนออย และมันสำปะหลัง รอยละ 14.15
                  และ 12.22 ตามลำดับ
                            2) พื้นที่ปาไม มีเนื้อที่ 539,003 ไร หรือรอยละ 12.40 ของเนื้อทีจังหวัด ซึ่งพื้นที่สวนใหญ 
                                                                                  ่
                                                                                  
                                                       ี
                                    
                  เปนปาผลัดใบสมบูรณ รอยละ 8.30 ของเนื้อท่จังหวัด รองลงมาปาปลูกสมบูรณ รอยละ 1.77 และปาผลัด
                  ใบรอสภาพฟนฟู รอยละ 1.21 ตามลำดับ
                            3) พื้นทเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 109,243 ไร หรือรอยละ 2.51 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่สวนใหญ
                                    ี่
                  เปนทุงหญาและไมละเมาะ รอยละ 2.23 ของเนื้อท่จังหวัด
                                                            ี
                            4) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง มีเนื้อที่ 287,437 ไร หรือรอยละ 6.61 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ซึ่งพื้นที่สวนใหญเปนหมูบาน รอยละ 4.32 ของเนื้อท่จังหวัด
                                                              ี
                            5) พื้นที่น้ำ มีเนื้อที่ 36,682 ไร หรือรอยละ 5.85 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่สวนใหญเปน
                                                      ี
                  แหลงน้ำที่สรางขึ้น รอยละ 4.35 ของเนื้อท่จังหวัด
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37