Page 29 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 29

2-7





                  2.4  สภาพภูมิประเทศ

                        จังหวัดกาฬสินธุ มีลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาสูงจนถึงที่ราบลุมมีน้ำแชขัง ดังนั้น ลักษณะภูม ิ
                  ประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดกาฬสินธุสามารถแบงลักษณะภูมิประเทศได 5 ลักษณะ ดังนี้
                          1. พื้นที่ที่เปนภูเขา ไดแก เทือกเขาภูพาน ซึ่งมีระดับความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 200 -

                                                                       ี่
                                                                    ื้
                  500 เมตร อยูทางทิศตะวันออก และทิศเหนือของจังหวัดในพนทของอำเภอสมเด็จ อำเภอเขาวง อำเภอ
                  กุฉินารายณ และอำเภอหวยผึ้ง บริเวณนี้เปนแหลงตนน้ำลำธารที่สำคัญไดแก ลำน้ำปาว และลำน้ำพาน
                          2. สภาพที่เปนหุบเขา อยูในเขตอำเภอเขาวง มีลักษณะเปนที่ราบระหวาง หุบเขาสภาพเปน
                  ลูกคลื่น สูงจากระดับทะเลปานกลาง 175 - 250 เมตร มีลักษณะเปนพื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้น อยูในเขต
                  อำเภอทาคันโท อำเภอ สหัสขันธ บริเวณทิศเหนือของอำเภอยางตลาด ทิศใตของอำเภอสมเด็จ และ
                  บางสวนของอำเภอหวยผึ้ง

                                                                                                      ่
                          3. สภาพเปนลูกคลื่น สูงจากระดับทะเลปานกลาง 175 - 250 เมตร มีลักษณะเปนลูกคลืน
                  ลอนตื้น อยูในเขตอำเภอทาคันโท อำเภอสหัสขันธ บริเวณทิศเหนือของอำเภอยางตลาด ทิศใตของ
                  อำเภอสมเด็จ และบางสวนของอำเภอหวยผึ้ง
                          4. สภาพคอนขางราบ มีระดับทะเลปานกลาง 150 - 170 เมตร อยูในบริเวณอำเภอเมือง
                  อำเภอยางตลาด บางสวนของทิศใตของอำเภอสหัสขันธ ทางทิศตะวันออกของอำเภอสมเด็จ และอำเภอ

                  หวยผึ้ง
                          5. สภาพพื้นที่ราบลุมริมฝงน้ำ เปนที่ราบริมฝงแมน้ำชี ลำน้ำปาว ลำน้ำพาน มีความสูงจาก
                                                   
                     ั
                                                                                   ื
                  ระดบทะเลปานกลาง 140 - 150 เมตร อยูในอำเภอกมลาไสย บางสวนของอำเภอเมองและอำเภอยางตลาด
                  2.5  สภาพภูมิอากาศ
                         สภาพภูมิอากาศจังหวัดกาฬสินธุขึ้นอยูกับอิทธิพลของมรสุมที่พดประจำฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุม
                                                                           ั
                  ตะวันออกเฉียงเหนือพัดพามวลอากาศเย็นและแหงจากประเทศจีนเขาปกคลุมประเทศไทย ในชวงฤด   ู
                  หนาว (ตั้งแตประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงประมาณเดือนกุมภาพันธ) ทำใหจังหวัดกาฬสินธุมีอากาศ
                  หนาวเย็นและแหงทั่วไปและมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งพัดพามวลอากาศชื้นจากทะเลและมหาสมุทร
                                                                            ึ
                  เขาปกคลุมประเทศไทยในชวงฤดูฝน (ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถงประมาณกลางเดือนตุลาคม) ทำ
                  ใหมีฝนตกชุกทั่วไป จากสภาพอากาศดังกลาวจะเห็นไดวาฤดูกาลของจังหวัดกาฬสินธุมี 3 ฤดู ตาม

                  ฤดูกาลในประเทศไทย ดังนี้
                            1) ฤดูรอน เริ่มตนประมาณกลางเดือนกุมภาพันธถึงกลางเดอนพฤษภาคม ซึ่งเปนชวงที่ม ี
                                                                              ื
                  อากาศรอนอบอาวโดยทั่วไป โดยเฉพาะเดือนมีนาคมเปนชวงที่มีอากาศรอนอบอาวที่สุดของป
                            2) ฤดูฝน เริ่มตนประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เปนชวงที่มรสุม
                  ตะวันตกเฉียงใตพัดเอาความชื้นจากทะเลและมหาสมุทรมาปกคลุมประเทศไทย ประกอบกับในชวง

                  ดังกลาวรองความกดอากาศต่ำที่พาดอยูบริเวณภาคใตของประเทศไทยจะเลื่อนขึ้นมาพาดผานบริเวณ
                  ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ทำใหอากาศเริ่มชุมชื้นและมฝนตกชุกตั้งแต 
                                                                                          ี
                  ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมเปนตนไป โดยเฉพาะเดือนสิงหาคมเปนชวงที่มีฝนตกชุกหนาแนนมาก
                  ที่สุดในรอบป อยางไรก็ตามนอกจากปจจัยดังกลาวที่ทำใหมีฝนตกชุกแลว ยังขึ้นอยูกับอิทธิพลของพายุ

                  หมุนเขตรอนที่เคลื่อนตัวเขาใกลหรือเขาสูประเทศไทยในชวงเวลาดังกลาวดวย
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34