Page 30 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 30

2-8





                            3) ฤดูหนาว เริ่มตนประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ ซึ่งเปน

                  ชวงที่มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย ทำใหอากาศโดยทั่วไปหนาวเย็นและแหง โดยม ี
                  อากาศหนาวจัดในบางวัน โดยเฉพาะชวงที่มีอากาศหนาวมากที่สุดจะอยูในชวงเดือนธันวาคมถึงเดือน
                  มกราคม แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับอิทธิพลของบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนที่แผลงมาปกคลุม

                  ประเทศไทยในชวงเวลาดังกลาวดวย
                            จากขอมูลสถิติภูมิอากาศกรมอุตุนิยมวิทยา (2566) ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดกาฬสินธุ

                  ไดแก อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ำสุด อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ำฝน ปริมาณฝนใชการ จำนวนวันฝนตก
                  ความชื้นสัมพัทธ และศักยภาพการคายระเหยน้ำ ในคาบ 25 ป (พ.ศ. 2541 - 2565) สามารถอธิบาย
                  สภาพภูมิอากาศจังหวัดกาฬสินธุไดดังนี้ (ตารางที่ 2 - 1)
                                ุ
                            1) อณหภูมิ
                              อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 27.3 องศาเซลเซียส อณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยตลอดป 32.5 องศา
                                                                      ุ
                  เซลเซียส โดยในเดือนเมษายนเปนชวงที่มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 35.8 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ำสุด
                  เฉลี่ยตลอดป 22.4 องศาเซลเซียส โดยในเดือนธันวาคมและเดือนมกราคมเปนชวงที่มีอุณหภูมิต่ำสุด
                  เฉลี่ย 17.4 องศาเซลเซียส
                          2) ปริมาณน้ำฝน
                              ปริมาณน้ำฝนรวม 1,371.9 มิลลิเมตร โดยในเดือนสิงหาคมมีปริมาณน้ำฝนมากทสุด คอ
                                                                                                      ื
                                                                                                 ี่
                  255.0 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมมีปริมาณน้ำฝนนอยที่สุด คือ 2.3 มิลลิเมตร
                          3) ปริมาณฝนใชการ (Effective Rainfall : ER)
                              ปริมาณฝนใชการ หมายถึง ปริมาณน้ำฝนที่เหลืออยูในดิน ซึ่งพืชสามารถนำไปใช
                                                                                                      ี
                                                 ี
                  ประโยชนได สำหรับจังหวัดกาฬสินธุมปริมาณฝนใชการ 946.6 มิลลิเมตร โดยในเดือนสิงหาคมเปนชวงท่ม ี
                                                                                                    ี
                  ปริมาณฝนใชการมากที่สุด คือ 150.5 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมเปนชวงทมีปริมาณฝนใชการนอยทสุด
                                                                                ี่
                                                                                                    ่
                  คือ 2.3 มิลลิเมตร
                            4) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ำ
                                ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 74.4 เปอรเซ็นต ศักยภาพการคายระเหยน้ำเฉลี่ยตลอดป 81.6
                               ่
                               ี
                                                             
                  มิลลิเมตร โดยทศักยภาพการคายระเหยน้ำสูงสุดอยูในเดือนมีนาคม คือ 92.4 มิลลิเมตร และในเดือน
                  กันยายนมีศักยภาพการคายระเหยน้ำต่ำสุด คือ 70.8 มิลลิเมตร
                            5) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืช
                                                                                                      ุ
                                                    ี
                                การวิเคราะหชวงฤดกาลท่เหมาะสมสำหรับปลูกพืชเปนการนำขอมูลการวิเคราะหสมดล
                                               ู
                  ของน้ำเพื่อการเกษตรที่ไดจากการนำขอมูลปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย และคาศักยภาพการคายระเหยน้ำของ
                  พืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo) มาคำนวณโดยใชโปรแกรม Cropwat for Windows
                  เวอรชัน 8.0 และพิจารณาจากชวงระยะเวลาทเสนน้ำฝนอยูเหนือเสน 0.5 ETo ถือเปนชวงระยะเวลาท ี่
                                                        ี่
                  เหมาะสมในการปลูกพืช จากการวิเคราะหขอมูลสามารถสรุปไดดังนี้ (รูปที่ 2 - 5)

                              (1) ชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกพืชเปนชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะตอการปลูก
                  พืช ซึ่งปกติอยูในฤดูฝนชวงเวลาระหวางกลางเดือนมีนาคมถึงตนเดือนพฤศจิกายน สวนในชวงกลางเดือน
                                                                                               ี่
                  พฤศจิกายนเปนชวงที่ปริมาณฝนลดลง ซึ่งในชวงเวลานี้เกษตรกรสามารถปลูกพืชอายุสั้นหรือพชทใชน้ำนอย
                                                                                            ื
                  ได เชน พืชตระกูลถั่วตาง ๆ เนื่องจากพืชสามารถใชประโยชนจากความชื้นทเหลืออยูในดินได จากการทดินม ี
                                                                              ี่
                                                                                                   ี่
                  การดูดซับและเก็บความชื้นไวในชวงฤดูฝน อยางไรก็ตามเกษตรกรควรมีการวางแผนจัดการระบบการ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35