Page 140 - Land Use Plan of Thailand
P. 140

4-22







                               3)  ภัยแล้ง ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม การขาดแคลนน้ าจึงส่งผลกระทบ
                  อย่างรุนแรงต่อประชาชนที่ประกอบอาชีพการเกษตร และจากสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
                  ภูมิอากาศท าให้ฤดูฝนสั้นขึ้น ซึ่งหมายถึงว่า ฤดูแล้งจะยาวนานขึ้น และในพื้นที่ตอนบนของประเทศจะมี

                  ปริมาณฝนตกน้อยลง ส่งผลให้ปริมาณน้ าในเขื่อนและอ่างเก็บน้ าทั่วประเทศมีปริมาณไม่เพียงพอส าหรับ
                  ประชาชนใช้อุปโภคบริโภค และเพื่อการเกษตร โดยเฉพาะพื้นที่นอกเขตชลประทาน สิ่งที่จะเป็นปัญหา
                  ตามมาคือ ภาวะแห้งแล้งและการขาดแคลนน้ า ท าให้ประชาชนต้องประสบกับความเดือดร้อนในหลาย
                  พื้นที่ จากข้อมูลของกรมพัฒนาที่ดินได้ระบุไว้ว่า ประเทศไทยมีพื้นที่แล้งซ้ าซาก ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความแห้ง
                  แล้งด้านการเกษตร และเป็นพื้นที่เกิดขึ้นเป็นประจ าหรือบ่อยครั้ง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 62 จังหวัด คิดเป็น

                  เนื้อที่ 54.44 ล้านไร่ (ตารางที่ 4-7 รูปที่4-7)

                  ตารางที่ 4-7 พื้นที่แล้งซ้ าซากของประเทศไทย

                       ความถี่                                     เนื้อที่ (ไร่)
                     ของการเกิด
                     ในรอบ 10 ปี     เหนือ   ตะวันออกเฉียงเหนือ   กลาง     ตะวันออก      ใต้       รวม
                   ตั้งแต่ 6 ครั้งขึ้นไป    986,744   1,583,762   320,328      -         -        2,890,834

                   4 - 5 ครั้ง     2,722,681        14,827,644    971,716    885,221    64,969   19,472,231
                   ไม่เกิน 3 ครั้ง   4,451,767      23,255,675  3,021,225  1,305,325    42,866   32,076,858
                        รวม        8,161,192       39,667,081  4,313,269  2,190,546  107,835  54,439,923
                  ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2559 : 79)
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145