Page 31 - rubber
P. 31
2-15
อ าเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส และไหลผ่านเข้าไปในเขตอ าเภอรามัน จังหวัดยะลา และไหลลงสู่อ่าวไทย
ที่อ าเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
2.4.2 แหล่งน ้าชลประทาน
แหล่งน้ าชลประทานจากกรมชลประทานที่จัดท าขึ้น เพื่อให้ได้มาซึ่งน้ าหรือเพื่อเก็บกัก
รักษาควบคุม ส่งระบายน้ าหรือแบ่งน้ าเพื่อเกษตรกรรม การพลังงาน การสาธารณูปโภค
การอุตสาหกรรม การป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ า รวมถึงการคมนาคมทางน้ า มีประเภท
โครงการชลประทานที่ส าคัญดังต่อไปนี้ (กรมชลประทาน, 2560)
1) โครงการชลประทานขนาดใหญ่ คือ งานชลประทานอเนกประสงค์ที่สามารถก่อให้เกิด
ประโยชน์ทางด้านการเกษตร การอุปโภคบริโภค การบรรเทาอุทกภัย การอุตสาหกรรม การผลิต
กระแสไฟฟ้าจากพลังน้ า การคมนาคม แหล่งเพาะพันธุ์ประมงน้ าจืด แหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ
และอื่น ๆ ในแต่ละโครงการมีงานก่อสร้างหลายประเภท เช่น เขื่อนเก็บกักน้ า เขื่อนหรือฝายทดน้ า
การสูบน้ า ระบบส่งน้ า ระบบระบายน้ า ระบบชลประทานในแปลงนา ถ้าเป็นการก่อสร้างประเภทเขื่อนเก็บกักน้ า
สามารถเก็บกักน้ าได้มากกว่า 100 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือมีพื้นที่อ่างเก็บน้ าตั้งแต่ 15 ตารางกิโลเมตร
หรือมีพื้นที่ชลประทานมากกว่า 80,000 ไร่ ซึ่งในปัจจุบันโครงการชลประทานขนาดใหญ่มีพื้นที่
ชลประทานรวม 17,966,566 ไร่ และพื้นที่รับประโยชน์รวม 175,000 ไร่
2) โครงการชลประทานขนาดกลาง หมายถึง โครงการชลประทานที่มีขนาดเล็กกว่า
โครงการชลประทานขนาดใหญ่ โดยต้องเป็นโครงการที่มีการจัดท ารายงานความเหมาะสมแล้ว
มีปริมาตรเก็บกักน้ าน้อยกว่า 100 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพื้นที่เก็บกักน้ าน้อยกว่า 15 ตารางกิโลเมตรหรือ
มีพื้นที่ชลประทานน้อยกว่า 80,000 ไร่ ซึ่งจะเป็นงานก่อสร้างอาคารชลประทานประเภทต่าง ๆ อาทิ
เขื่อนเก็บกัก เขื่อนทดน้ า ฝาย โรงสูบน้ า ระบบส่งน้ า และระบายน้ า ฯลฯ รวมทั้งงานก่อสร้างทาง
ล าเลียงผลผลิตและงานแปรสภาพล าน้ า ซึ่งในปัจจุบันโครงการชลประทานขนาดกลางมีพื้นที่
ชลประทานรวม 6,807,235 ไร่ และพื้นที่รับประโยชน์รวม 397,487 ไร่
3) โครงการชลประทานขนาดเล็ก หมายถึง งานพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กที่กรมชลประทาน
ได้เริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ ปี 2520 เพื่อแก้ปัญหาหรือบรรเทาความเดือดร้อนเกี่ยวกับเรื่องน้ าส าหรับ
การอุปโภคบริโภคและการเกษตร ซึ่งเป็นความจ าเป็นขั้นพื้นฐานของราษฎรในชนบท หรือพื้นที่
ที่ห่างไกล รวมทั้งการแก้ไขบรรเทาความเดือดร้อนจากอุทกภัยและน้ าเค็มที่ขึ้นถึงพื้นที่เพาะปลูก
โดยการก่อสร้างอาคารชลประทานขนาดเล็กประเภทต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ
และปัญหาที่เกิดขึ้นตามความต้องการของราษฎร ซึ่งในปัจจุบันโครงการชลประทานขนาดเล็ก
มีพื้นที่ชลประทานรวม 6,200,263 ไร่ และพื้นที่รับประโยชน์รวม 12,471,963 ไร่
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน